กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความพร้อมในการตั้งครรภ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : 1.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลตัวเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00 1.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวได้รับการอบรมตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ครบ ร้อยละ 100 2.แบบทดสอบก่อนหลังอบรมให้ความรู้ ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
1.00 1.00

 

3 3. หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นปกติตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 2.เกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 10
1.00 1.00

 

4 4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1.ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 10
1.00 1.00

 

5 5. เพื่อให้เกิดเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสามารถช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน 2.แบบทดสอบความรู้ ก่อน หลังการอบรม
1.00 1.00

 

6 6 . หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 1.ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด ร้อยละ 100 2.ได้รับการส่งเสริมสุขภาพหลังคลอด ร้อยละ 100
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 205
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 205
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความพร้อมในการตั้งครรภ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ (3) 3. หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นปกติตามเกณฑ์ (4) 4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์ (5) 5. เพื่อให้เกิดเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน (6) 6 . หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานอนามัยแม่และเด็กเชิงรุก หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและน้ำหนักตัวน้อย BMI ต่ำกว่าเกณฑ์ และหญิงหลังคลอด เพื่อขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500วัน ปี 2567แก่เจ้าหน้าที่และอสม. จำนวน 66 คน (2) เตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธ์ในการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ (3) หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวได้รับความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ (4) ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ (5) การติดตามเยี่ยมหลังคลอด 100 ราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh