กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี บ้านปาเต๊ะ ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)หมู่ที่ 6

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี บ้านปาเต๊ะ

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-5 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี บ้านปาเต๊ะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี บ้านปาเต๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี บ้านปาเต๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5303-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของประเทศไทย พบว่ากลุ่มเด็ก 0-5 ปี (งานภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการเด็ก) ขาดการมีส่วนร่วมทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นแนวทางการดูแลสุขภาพทีใช้ได้กับทุกเพศ ทุกวัย การที่ประชาชนมีความรู้ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและการได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากภาคีเครือข่ายที่เข็มแข็งทำให้สามารถดำรงชีวิตและมีทักษะในการดำเนินชีวิตที่ปลอดภัยและลดการเจ็บป่วยด้วยโรคได้ ในปีที่ผ่านมาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเต๊ะ ได้ดำเนินการรณรงค์สร้างกระแสความรู้ด้านสุขภาพ คักกรองกลุ่มเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และเสริมสร้างพลังความเข็มแข็งในประชาชนทุกกลุ่มวัย และการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไปแล้ว แต่ยังไม่สามารถลดการเจ็บป่วยรายใหม่ได้ และโรคที่ยังเป็นปัญหาสำคัญในปัจจุบัน และมีผลต่อสุขภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว มีเเนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง นอกจากนี้ยังต้องเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อที่เกิดขึ้นเมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น หากมีโรคหรือความเจ็บป่วยที่ไม่อาจควบคุมได้ ผลกระทบอาจเกิดขึ้นกับตนเองที่ต้องเข้าโรงพยาบาลบ่อยครั้ง สูญเสียค่าใช้จ่ายในครอบครัวไปกับการรักษาโรค ทำให้เกิดปัญหาในครอบครัว ความสมบูรณ์ของครอบครัวจะลดความสำคัญลง แต่มุ่งที่จะรักษาตนเองจากภาวะเจ็บป่วยแทน จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จำเป็นต้องมีการแก้ไขและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาการครอบครัวและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมความรู้ให้กับเครือข่ายที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบด้านสุขภาพในชุมชน ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชนกลุ่มดังกล่าวมากที่สุด นั่นคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่คอยดูแลประชาชนทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และหากมีความรู้เพียงพอและได้รับการพัฒนาต่อเนื่อง จะเป็นผู้มีความรู้ที่สามารถดูแลประชาชนได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่องแทนเจ้าหน้าที่ภาครัฐได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมดูแลประชาขนในทุกช่วงวัยอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข บ้านปาเต๊ะ และผู้ดูแล/ผู้ปกครองเด็กในวัย 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2566 เพื่อพัฒนาเครือข่ายในชุมชนให้มีความรู้และสามารถดูแลประชาขนให้มีสุขภาพดีได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
  2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเรืองโภชนาการและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลเด็กในช่วง วัย 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การส่งเสริมสุขภาพตามวัย และโรคไม่ติดต่อในชุมชน
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การส่งเสริมสุขภาพตามวัย และโรคไม่ติดต่อในชุมชน
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

 

50 0

2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเรืองโภชนาการและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมสุขภาพเรืองโภชนาการและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การส่งเสริมสุขภาพตามวัย และโรคไม่ติดต่อในชุมชน
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

 

50 0

3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลเด็กในช่วง วัย 0-5 ปี

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลเด็กในช่วงวัย 0-5 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การส่งเสริมสุขภาพตามวัย และโรคไม่ติดต่อในชุมชน
    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพฯเรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย มากกว่าร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเด็ก ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเรืองโภชนาการและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี (3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลเด็กในช่วง วัย 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี บ้านปาเต๊ะ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)หมู่ที่ 6 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด