กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 ตำบลเจ๊ะบิลัง

ชื่อโครงการ โครงการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-6 เลขที่ข้อตกลง 7/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5303-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยหลายพื้นที่มีฝนตกต่อเนื่อง เกิดน้ำท่วมขังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออกโรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย เฉพาะสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม-29 สิงหาคม 2565 พบพบผู้ป่วยแล้ว 19,380 รายมีผู้เสียชีวิตแล้ว 16 รายโดยปีนี้ถือว่ามีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงกว่าปีที่แล้วถึง 167% เนื่องจากปีนี้มีการผ่อนคลายมาตรการโรคโควิด 19ทำให้ประชาชนมีการเดินทางและไปทำกิจกรรมในที่สาธารณะได้มากขึ้นเช่น โรงเรียน สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ทำงาน จากการสำรวจลูกน้ำยุงลายของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขพบร้อยละ 40-60 ของโรงเรียน วัด โรงแรม รีสอร์ทโรงงาน และสถานะที่ราชการ มีลยุงลายเป็นสาเหตุสำคัญให้เกิดการแพทยระบาดของโรคไข้เลือดออก ในปีนี้จึงจำเป็นต้องเร่งดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนโดยผ่านกลไกของ SRRT ระดับตำบลและสนับสนุนให้มีกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายต่อเนื่องด้วยการปฎิบัติตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรคคือ เก็บบ้านให้สะอาด ไม่ให้มีมุมอับทึบเป็นที่เกาะพักของยุงลาย เก็บขยะ เศษภาชนะไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุง ปิดฝาภาชนะเก็บน้ำให้มิดชิด เพื่อป้องกันยุงลายมาวางไข่ ป้องกันยุงกัด เช่น การทายากันยุง นอนในมุ้ง ใช้ยาจุดกันยุง ใส่เสื้อแขนยาวกางเกงขายาวป้องกันการเสียชีวิต ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1ตำบลเจ๊ะบิลังจึง ได้จัดโครงการโครงกาาร 3เก็บ ป้องกัน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนฤดูระบาดและเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะนำโรคนั้นจำเป็นต้องป้องกันควบคุมโรคอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพื่อ ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคเป็นวงกว้างยาก แก่การป้องกันควบคุมโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. เครือข่าย SRRT ระดับตำบล ได้รับการอบรม มีความรู้และทักษะในการสอบสวนโรค ควบคุมโรคในชุมชนอย่างทันท่วงที
  3. ลดปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมแกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)/ทีม SRRT ตำบล
  2. กิจกรรมดำเนินการประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน พร้อมให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค
  3. กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  4. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมแกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)/ทีม SRRT ตำบล

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมแกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)/ทีม SRRT ตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    3. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

 

50 0

2. กิจกรรมดำเนินการประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน พร้อมให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน พร้อมให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    3. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

 

60 0

3. กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
    3. เกิดความร่วมมือในการป้องกันละควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลายมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน สมาชิกอบต. ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
60.00

 

2 เครือข่าย SRRT ระดับตำบล ได้รับการอบรม มีความรู้และทักษะในการสอบสวนโรค ควบคุมโรคในชุมชนอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเครือข่าย SRRT ระดับตำบล ได้รับการอบรม มีความรู้และทักษะในการสอบสวนโรค ควบคุมโรคในชุมชนอย่างทันท่วงที
90.00

 

3 ลดปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : ลดปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคไม่เกิน ร้อยละ ๑๐
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) เครือข่าย SRRT ระดับตำบล ได้รับการอบรม มีความรู้และทักษะในการสอบสวนโรค ควบคุมโรคในชุมชนอย่างทันท่วงที (3) ลดปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมแกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)/ทีม SRRT ตำบล (2) กิจกรรมดำเนินการประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน พร้อมให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค (3) กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5303-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 ตำบลเจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด