กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ ในปัจจุบันผู้ปกครองของเด็กส่วนใหญ่มักจะคิดว่าฟันซี่แรกของลูก หรือฟันน้ำนมเดี๋ยวก็หลุดไป จึงขาดการเอาใจใส่ดูแล และจะเริ่มดูแลเมื่อฟันแท้ขึ้น ส่งผลให้เด็กไทยกว่าครึ่งประเทศมีฟันน้ำนมผุ และอาจบานปลายไปถึงการเป็นหนองที่ปลายรากฟัน ส่งผลให้ต้องรักษาด้วยวิธีการที่ซับซ้อน มีค่าใช้จ่ายสูง โดยในปี พ.ศ.2565 กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ปัญหาสุขภาพช่องปากยังเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 52.9 และเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 75.6 มีฟันน้ำนมผุ ส่วนเด็กวัยเรียนและเยาวชนอายุ 12 ปี ร้อยละ 52.0 มีประสบการณ์การเกิดโรคฟันแท้ผุ   โรงเรียนบ้านควนตังได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการให้ความรู้กับนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน และฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมความรู้เรื่องทันตสุขภาพให้เด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องทันตสุขภาพร้อยละ 90

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 90

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรงร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 99
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 99
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมความรู้เรื่องทันตสุขภาพให้เด็กนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 1.1 อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน  1.2 อบรมฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้กับเด็กนักเรียน (2) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน และ อบรมฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้กับเด็กนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh