ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันติ ตุงคะเวทย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 385,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุข สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดให้มีการบริการทันตกรรม และส่งเสริมป้องกันให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ แก่เด็กนักเรียน และประชาชนทั่วไปในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งได้มีการตั้งคลินิกทันตกรรมเพื่อให้บริการและส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพ 2 แห่งคือ ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม และศูนย์บริการสาธารณสุขสามชัย สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ มีหน้าที่ให้บริการงานทันตกรรมทั่วไป ได้แก่ ขูดหินปูน อุดฟัน และถอนฟัน งานส่งเสริมป้องกัน ได้แก่ การเคลือบฟลูออไรด์ และเคลือบหลุมร่องฟันเพื่อป้องกันฟันผุ รวมทั้งให้บริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง ได้แก่ การรักษาคลองรากฟัน การผ่าตัดฟันคุด/ฟันฝัง ทันตกรรมจัดฟันเบื้องต้นและงานฟันเทียมทั้งแบบถอดได้และติดแน่น โดยให้บริการผู้ป่วย จำนวน 2,641 ราย (เฉลี่ยวันละ 11 ราย) ในปีงบประมาณ 2565 จากการที่ศูนย์บริการทั้ง 2 แห่ง ได้ลงพื้นที่ในการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ประจำปี 2565 ในโรงเรียนเทศบาล 1-6 จำนวน 4,089 ราย พบว่าเด็กประถมศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 (5-6 ปี) มีค่าปราศจากโรคฟันผุเพียงร้อยละ 20.7 ซึ่งค่าปราศจากโรคฟันผุในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ กำหนดอยู่ที่ 30.3 จะเห็นได้ว่าค่าปราศจากโรคฟันผุในเด็กประถมมีค่าน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนมีฟันผุเริ่มต้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลลุกลามมาจนถึงวัยประถมทั้งนี้การไม่ได้รับการการส่งเสริมป้องกันฟันผุอย่างถูกวิธีตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งส่งผลให้โรคฟันผุเกิดการลุกลามทั้งขนาดเล็กที่ยังสามารถบูรณะได้ไปจนถึงฟันผุลุกลามขนาดใหญ่ ที่ต้องได้รับการถอนฟันออกทั้งในน้ำนมและฟันกรามแท้ซี่แรก ดังนั้น งานทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุข สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้ตระหนักว่าปัญหาฟันผุในเด็กเล็กก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรได้รับการป้องกัน และแก้ไขก่อนโดยการใช้สารเคลือบฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงชนิดทาเพื่อเสริมความแข็งแรงของฟันร่วมกับ การใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติกเพื่อทำลายเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ นมอัดเม็ดโพรไบโอติกเป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อใช้ในการป้องกันโรคฟันผุซึ่งเป็นผลงานวิจัยของ ศ.ดร.รวี เถียรไพศาล และผศ.ดร.ทพญ.สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (เอกสารแนบมาด้วยแล้ว) ซึ่งมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ที่รองรับได้ถึงผลในการป้องกันโรคฟันผุ เช่น การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด เมื่อเด็กแรกเกิดจะยังไม่มีฟันน้ำนมขึ้น ซึ่งการขึ้นของฟันน้ำนมจะขึ้นตารางต่อไปนี้จะเห็นได้ว่าฟันน้ำนมซี่แรกที่ขึ้น คือ ฟันน้ำนมล่าง จะขึ้นตอนประมาณอายุ 6 เดือน และซี่สุดท้ายที่ขึ้นก็คือ ฟันกรามน้ำนมบนซี่ที่ 2 ซึ่งจะขึ้นตอนอายุประมาณ 3 ขวบ ซึ่งการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กตั้งแต่ 0-3 ขวบ จะเริ่มตั้งแต่การเช็ดสันเหงือกในกรณีก่อน 6 เดือน หรือตอนที่ฟันน้ำนมยังไม่ขึ้นพอหลังจากนั้นที่ฟันน้ำนมซี่แรกขึ้น สามารถแปรงฟันได้ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ (500 ppm) แต่ยังไม่สามารถที่จะให้นมอัดเม็ดป้องกันโรคฟันผุได้ เพราะเด็กยังมีฟันไม่ครบไม่สามารถที่จะเคี้ยวนมอัดเม็ดได้ อีกทั้งในเด็กบางคนอาจจะมีการแพ้นมวัว ซึ่งเป็นส่วนผสมของนมอัดเม็ดนี้อยู่ (ซึ่งอาการแพ้นมวัวดังกล่าวส่วนใหญ่มักจะหายได้เองหลังจาก 3 ขวบไปแล้ว) อีกทั้งกลไกของนมอัดเม็ดป้องกันโรคฟันผุจะเป็นตัวที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ นั่นคือ Streptococci mutans ซึ่งไม่เหมือนกับฟลูออไรด์ (Fluoride) ที่ป้องกันโรคฟันผุ โดยทำให้ตัวฟันมีความแข็งแรงมากขึ้นโดยเปลี่ยนอนุภาคของ Hydroxyapatide เป็น Fluoroapatide ซึ่งจะเพิ่มความแข็งแรงให้กับตัวฟัน อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสะสมแร่ธาตุใหม่ที่ตัวฟัน (Reminerization) ทดแทนการสูญเสียแร่ธาตุ (Demineralization) เวลาที่ฟันได้รับกรดจากเชื้อ Streptococci mutans ที่บริโภคน้ำตาลแล้วปล่อยกรดมาทำลายผิวฟัน จะเห็นได้ว่ากลไกของป้องกันโรคฟันผุทั้งจากฟลูออไรด์และนมอัดเม็ดจะแตกต่างกัน แต่ทั้ง 2 ชนิด ก็จะช่วยลดการเกิดโรคฟันผุ แต่นมอัดเม็ดจะให้ในกรณีที่เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ ก็คือสามารถเคี้ยวนมอัดเม็ดได้ (ผู้ปกครองก็สามารถรู้ได้และบอกได้ว่าบุตรหลานมีอาการแพ้นมวัวหรือไม่) และถ้ากลไกในการป้องกันโรคฟันผุทั้งหมด ได้แก่ นมอัดเม็ด ฟลูออไรด์ การแปรงที่ถูกวิธี การบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพฟัน ได้รวมกันเข้าไว้ด้วยกันก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคฟันผุเป็นไปอย่างดีที่สุด ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยและสภาวะจิตใจที่เบิกบาน ไม่ปวดฟันและจะมีฟันใช้งานได้ตราบนานเท่านาน
1. วารสาร Dentistry Journal 2015 3,43-54 ผลการศึกษาของเชื้อโพรไบโอติกชนิด Lactobacillus paracasei SD1 สามารถลดการเกิดโรคฟันผุใหม่ (mutans streptococci) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P‹0.05) ในระยะยาว 12 เดือน ซึ่งทำในเด็ก 122 คน
2. วารสาร ACTA ODONTOLOGICA SCANDINAVICA 2018 VOL.76 NO.5, 331-337 ซึ่งเป็นงานวิจัย ที่ทำในเด็กก่อนวัยเรียนและพบว่าเชื้อโพรไบโอติกชนิด Lactobacillius paracasei SD1 สามารถลดเชื้อที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ (mutans streptococci) หลังจากได้รับนมอัดเม็ดไปแล้ว 3 เดือน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อประเมินสภาวะการปราศจากโรคฟันผุทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
- ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก)
- ข้อที่ 3 ติดตามการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุร้อยละ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้บริการทันตกรรม
- จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย)
- จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ฟลูออไรด์ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
1,222
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1,222
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
2. ครูประจำชั้น ครูอนามัย มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถถ่ายทอดไปสู่นักเรียนได้ยิ่งขึ้น
3. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจและอยากให้มีโครงการนี้ขึ้นอีก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ฟลูออไรด์ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน)
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ฟลูออไรด์วานิช 100 หลอด x 1,050 บาท เป็นเงิน 105,000 บาท
2.พู่กันสำหรับทาฟลูออไรด์วานิช 1,300 ด้าม x 2 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท
3.ถาดหลุมสำหรับใส่ฟลูออไรด์วานิช 1,920 ชิ้น x 4 บาท เป็นเงิน 7,680 บาท
4.แปรงสีฟัน จำนวน 1,300 ด้าม x 11 บาท เป็นเงิน 14,300 บาท
5.ยาสีฟัน จำนวน 1,300 หลอด x 29 บาท เป็นเงิน 37,700 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
1,222
0
2. จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย)
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย
(3 เม็ด/วัน = 15 เม็ด/สัปดาห์ ไม่รวมเสาร์และอาทิตย์ 1 ถุง)
1 ถุง x 14 สัปดาห์ x 1,300 คน= 18,200 ถุง x ถุงละ 12 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
1,222
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อประเมินสภาวะการปราศจากโรคฟันผุทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
2
ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 ได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟัน สำหรับเด็ก)
3
ข้อที่ 3 ติดตามการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุร้อยละ
ตัวชี้วัด : ร้อยละการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุ จะต้องไม่เกินร้อยละ 10
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2444
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
1,222
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1,222
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อประเมินสภาวะการปราศจากโรคฟันผุทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก (2) ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก) (3) ข้อที่ 3 ติดตามการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุร้อยละ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้บริการทันตกรรม (2) จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย) (3) จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ฟลูออไรด์ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสันติ ตุงคะเวทย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันติ ตุงคะเวทย์
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 385,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุข สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดให้มีการบริการทันตกรรม และส่งเสริมป้องกันให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ แก่เด็กนักเรียน และประชาชนทั่วไปในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งได้มีการตั้งคลินิกทันตกรรมเพื่อให้บริการและส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพ 2 แห่งคือ ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม และศูนย์บริการสาธารณสุขสามชัย สังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ มีหน้าที่ให้บริการงานทันตกรรมทั่วไป ได้แก่ ขูดหินปูน อุดฟัน และถอนฟัน งานส่งเสริมป้องกัน ได้แก่ การเคลือบฟลูออไรด์ และเคลือบหลุมร่องฟันเพื่อป้องกันฟันผุ รวมทั้งให้บริการงานทันตกรรมเฉพาะทาง ได้แก่ การรักษาคลองรากฟัน การผ่าตัดฟันคุด/ฟันฝัง ทันตกรรมจัดฟันเบื้องต้นและงานฟันเทียมทั้งแบบถอดได้และติดแน่น โดยให้บริการผู้ป่วย จำนวน 2,641 ราย (เฉลี่ยวันละ 11 ราย) ในปีงบประมาณ 2565 จากการที่ศูนย์บริการทั้ง 2 แห่ง ได้ลงพื้นที่ในการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ประจำปี 2565 ในโรงเรียนเทศบาล 1-6 จำนวน 4,089 ราย พบว่าเด็กประถมศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 (5-6 ปี) มีค่าปราศจากโรคฟันผุเพียงร้อยละ 20.7 ซึ่งค่าปราศจากโรคฟันผุในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ กำหนดอยู่ที่ 30.3 จะเห็นได้ว่าค่าปราศจากโรคฟันผุในเด็กประถมมีค่าน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนมีฟันผุเริ่มต้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลลุกลามมาจนถึงวัยประถมทั้งนี้การไม่ได้รับการการส่งเสริมป้องกันฟันผุอย่างถูกวิธีตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งส่งผลให้โรคฟันผุเกิดการลุกลามทั้งขนาดเล็กที่ยังสามารถบูรณะได้ไปจนถึงฟันผุลุกลามขนาดใหญ่ ที่ต้องได้รับการถอนฟันออกทั้งในน้ำนมและฟันกรามแท้ซี่แรก ดังนั้น งานทันตสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุข สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้ตระหนักว่าปัญหาฟันผุในเด็กเล็กก่อนวัยเรียนและวัยอนุบาลเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรได้รับการป้องกัน และแก้ไขก่อนโดยการใช้สารเคลือบฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงชนิดทาเพื่อเสริมความแข็งแรงของฟันร่วมกับ การใช้นมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติกเพื่อทำลายเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ นมอัดเม็ดโพรไบโอติกเป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อใช้ในการป้องกันโรคฟันผุซึ่งเป็นผลงานวิจัยของ ศ.ดร.รวี เถียรไพศาล และผศ.ดร.ทพญ.สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (เอกสารแนบมาด้วยแล้ว) ซึ่งมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ที่รองรับได้ถึงผลในการป้องกันโรคฟันผุ เช่น การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด เมื่อเด็กแรกเกิดจะยังไม่มีฟันน้ำนมขึ้น ซึ่งการขึ้นของฟันน้ำนมจะขึ้นตารางต่อไปนี้จะเห็นได้ว่าฟันน้ำนมซี่แรกที่ขึ้น คือ ฟันน้ำนมล่าง จะขึ้นตอนประมาณอายุ 6 เดือน และซี่สุดท้ายที่ขึ้นก็คือ ฟันกรามน้ำนมบนซี่ที่ 2 ซึ่งจะขึ้นตอนอายุประมาณ 3 ขวบ ซึ่งการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กตั้งแต่ 0-3 ขวบ จะเริ่มตั้งแต่การเช็ดสันเหงือกในกรณีก่อน 6 เดือน หรือตอนที่ฟันน้ำนมยังไม่ขึ้นพอหลังจากนั้นที่ฟันน้ำนมซี่แรกขึ้น สามารถแปรงฟันได้ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ (500 ppm) แต่ยังไม่สามารถที่จะให้นมอัดเม็ดป้องกันโรคฟันผุได้ เพราะเด็กยังมีฟันไม่ครบไม่สามารถที่จะเคี้ยวนมอัดเม็ดได้ อีกทั้งในเด็กบางคนอาจจะมีการแพ้นมวัว ซึ่งเป็นส่วนผสมของนมอัดเม็ดนี้อยู่ (ซึ่งอาการแพ้นมวัวดังกล่าวส่วนใหญ่มักจะหายได้เองหลังจาก 3 ขวบไปแล้ว) อีกทั้งกลไกของนมอัดเม็ดป้องกันโรคฟันผุจะเป็นตัวที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ นั่นคือ Streptococci mutans ซึ่งไม่เหมือนกับฟลูออไรด์ (Fluoride) ที่ป้องกันโรคฟันผุ โดยทำให้ตัวฟันมีความแข็งแรงมากขึ้นโดยเปลี่ยนอนุภาคของ Hydroxyapatide เป็น Fluoroapatide ซึ่งจะเพิ่มความแข็งแรงให้กับตัวฟัน อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสะสมแร่ธาตุใหม่ที่ตัวฟัน (Reminerization) ทดแทนการสูญเสียแร่ธาตุ (Demineralization) เวลาที่ฟันได้รับกรดจากเชื้อ Streptococci mutans ที่บริโภคน้ำตาลแล้วปล่อยกรดมาทำลายผิวฟัน จะเห็นได้ว่ากลไกของป้องกันโรคฟันผุทั้งจากฟลูออไรด์และนมอัดเม็ดจะแตกต่างกัน แต่ทั้ง 2 ชนิด ก็จะช่วยลดการเกิดโรคฟันผุ แต่นมอัดเม็ดจะให้ในกรณีที่เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ ก็คือสามารถเคี้ยวนมอัดเม็ดได้ (ผู้ปกครองก็สามารถรู้ได้และบอกได้ว่าบุตรหลานมีอาการแพ้นมวัวหรือไม่) และถ้ากลไกในการป้องกันโรคฟันผุทั้งหมด ได้แก่ นมอัดเม็ด ฟลูออไรด์ การแปรงที่ถูกวิธี การบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพฟัน ได้รวมกันเข้าไว้ด้วยกันก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคฟันผุเป็นไปอย่างดีที่สุด ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยและสภาวะจิตใจที่เบิกบาน ไม่ปวดฟันและจะมีฟันใช้งานได้ตราบนานเท่านาน
1. วารสาร Dentistry Journal 2015 3,43-54 ผลการศึกษาของเชื้อโพรไบโอติกชนิด Lactobacillus paracasei SD1 สามารถลดการเกิดโรคฟันผุใหม่ (mutans streptococci) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P‹0.05) ในระยะยาว 12 เดือน ซึ่งทำในเด็ก 122 คน
2. วารสาร ACTA ODONTOLOGICA SCANDINAVICA 2018 VOL.76 NO.5, 331-337 ซึ่งเป็นงานวิจัย ที่ทำในเด็กก่อนวัยเรียนและพบว่าเชื้อโพรไบโอติกชนิด Lactobacillius paracasei SD1 สามารถลดเชื้อที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ (mutans streptococci) หลังจากได้รับนมอัดเม็ดไปแล้ว 3 เดือน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อประเมินสภาวะการปราศจากโรคฟันผุทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก
- ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก)
- ข้อที่ 3 ติดตามการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุร้อยละ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้บริการทันตกรรม
- จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย)
- จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ฟลูออไรด์ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 1,222 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1,222 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น 2. ครูประจำชั้น ครูอนามัย มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถถ่ายทอดไปสู่นักเรียนได้ยิ่งขึ้น 3. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจและอยากให้มีโครงการนี้ขึ้นอีก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ฟลูออไรด์ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน) |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ฟลูออไรด์วานิช 100 หลอด x 1,050 บาท เป็นเงิน 105,000 บาท 2.พู่กันสำหรับทาฟลูออไรด์วานิช 1,300 ด้าม x 2 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท 3.ถาดหลุมสำหรับใส่ฟลูออไรด์วานิช 1,920 ชิ้น x 4 บาท เป็นเงิน 7,680 บาท 4.แปรงสีฟัน จำนวน 1,300 ด้าม x 11 บาท เป็นเงิน 14,300 บาท 5.ยาสีฟัน จำนวน 1,300 หลอด x 29 บาท เป็นเงิน 37,700 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
|
1,222 | 0 |
2. จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย) |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
|
1,222 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อประเมินสภาวะการปราศจากโรคฟันผุทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก |
|
|||
2 | ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเทศบาล 2-6 ได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟัน สำหรับเด็ก) |
|
|||
3 | ข้อที่ 3 ติดตามการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุร้อยละ ตัวชี้วัด : ร้อยละการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุ จะต้องไม่เกินร้อยละ 10 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2444 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 1,222 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1,222 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อประเมินสภาวะการปราศจากโรคฟันผุทั้งก่อนและหลังการได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก (2) ข้อที่ 2 เด็กปฐมวัยได้รับนมอัดเม็ดผสมโพรไบโอติก ตามปริมาณและขนาดที่เหมาะสมต่อวันเป็นเวลา 3 เดือน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันโรคฟันผุ ได้รับการสอนและได้รับอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปาก (แปรงสีฟันและยาสีฟันสำหรับเด็ก) (3) ข้อที่ 3 ติดตามการเพิ่มขึ้นของโรคฟันผุร้อยละ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้บริการทันตกรรม (2) จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (นมอัดเม็ดโพรไบโอติกสำหรับเด็กปฐมวัย) (3) จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ (ฟลูออไรด์ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสันติ ตุงคะเวทย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......