กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีล้ม ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L7258-2-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มรักสุขภาพชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 42,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มรักสุขภาพชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.01,100.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การหกลั้มในผู้สูงอายุแตกต่างจากการหกลัมในวัยหนุ่มสาวหรือวัยเด็ก สาเหตุของการหกล้มสำคัญที่แพทย์ควร ประเมินเป็นลำดับแรกคือ สาเหตุจากปัจจัยทางสรีระวิทยาหรือความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ นิยามของการหกลัม หมายถึง "การ ที่ร่างกายเคลื่อนลงมากระทบสู่พื้นดินหรือที่ 1 ระดับต่ำกว่าระดับเติมโดยไม่ได้เป็นการตั้งใจ" การหกลัมในผู้สูงอายุในความ จริงแล้วเกิดน้อยกว่าในวัยเด็กหรือนักกีฬา แต่ด้วยการที่สรีรวิทยาที่ฤดถอยร่วมกับภาวะกระดูกบางหรือกระดูกพรูน ส่งผล กระทบต่อร่างกายได้อย่างชัดเจน ได้แก่ การบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อและเส้นเอ็นร้อยละ 50 และการบาดเจ็บที่รุนแรงขึ้นร้อยละ 10 เช่น กระดูกหัก เลือดออกในสมอง นอกจากนี้การหกลัมในผู้สูงอายุยังสงผสกระพบต่อจิตใจ โดยเฉพาะการหกสับเกิดขึ้นช้ำ และไม่ได้รับการดูแลแก้ไข นำไปสู่สุขภาพจิตที่แย่ลงหรือภาวะซึมเศร้าได้ร้อยละ 20-30 อุบัติการณ์การหกลัมและการเดินการทรงตัวที่ผิดปกติเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยทั่วโลก และส่งผลต่อผู้สูงอายุทั้งด้าน คุณภาพชีวิตและการเสียชีวิต รวมไปถึงคำใช้จ่ายในการรักษาผู้สูงอายุที่ค่อนข้างสูง สาเหตุของการหกลัมในผู้สูงอายุมีได้หลาย เหตุ มีได้ทั้งทางร่างกาย ยาที่รับประทานและปัจจัย สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ซึ่งแพทย์ควรทำการประเมินผู้ หกล้มโดยเริ่มจาก การชักประวัติการหกลัมที่เกิดขึ้นโดยละเอียดเพื่อนหาสาเหตุที่เป็นได้ ร่วมไปกับการประเมินการเดินการ ทรงตัว สำหรับการป้องกันการหกลัมในผู้สูงอายุ พบว่ามีหลายกระบวนการที่ช่วยป้องกันได้ตามข้อมูลการศึกษาที่ผ่านมา โดยเฉพาะการออกกำลังกายที่มีประสิทธิภาพทั้งการลดอัตราการหกลัมและลดความเสี่ยงต่อการหกล้ม ดังนั้นเมื่อแพทย์ได้ ประเมินผู้สูงอายุและพบความเสี่ยงต่อการหกลัม หรือเคยมีประวัติการหกลัมมาก่อน ควรหาสาเหตุที่มาของการหกลัมและ ความเสี่ยงอย่างละเอียด และให้การดูแลรักษาที่เหมาะสมเพื่อสามารถป้องกันการหกลัมและซะลอภาวะทุพพสภาพต่อไปได้ โดยปัญหาสุขภาพชุมชนที่น้ำมาทำประชาคมอ้างอิงจากแบบสำรวจสุขภาพประชาชนไทยครั้งที่ 6 เป็นการสำรวจ ผู้สูงอายุประมาณ 10,000 คน เพื่อเป้าหมายตามหลักนโยบายผู้สูงอายุแห่งชาติ ให้ผู้สูงอายุสามารถอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีส่วน ร่วมในการพัฒนาชุมชนและประเทศ เป็นที่ต้องการของครอบครัวและสังคม และมีความเข้าใจดีระหว่างคนต่างรุ่นใน ครอบครัว โดยมีประเด็นดังนี้ 1.การหกล้มในผู้สูงอายุ นำไปสู่การบาดเจ็บและเสียชีวิตได้ โดยมีการหกล้มภายในหกเดือน 15.3% พบเกิดปัญหาในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยเฉลี่ยล้มประมาณ 3 ครั้ง ไม่แกต่างกันมากนักระหว่างกลุ่มอายุ เป็นการหก ล้มนอกบ้านมากกว่าในบ้าน และในบ้านเป็นบริเวณห้องนอนและห้องน้ำ สาเหตุที่ทำให้หกลัมคือ การสะดุดสิ่งวัตถุสิ่งของ ลื่น หกล้ม เสียการทรงตัว พื้นต่างระดับ แหละหน้ามีดขณะหกล้ม เป็นการบาดเจ็บแผลฟกช้ำ ถอก หรืออาจถึงข้อสะโพกหักได้ 2.. การพึ่งพิงในกิจวัตรประจำวัน ผู้สูงอายุประมาณ 0. 7-20.2% มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน พบเกิดปัญหาใน ผู้หญิงเป็นมากกว่าผู้ชาย เพิ่มขึ้นตามอายุ 3.ความเสื่อมถอยของอวัยวะ เช่น ต้อกระจก การบดเคี้ยว และการได้ยิน และ สุดท้ายคือโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุทางกายและทางใจ ทางกายเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคข้อเข่าเสื่อม ทางจิตใจ เช่น ภาวะซึมเศร้าเป็นต้น โดยนำประเด็นปัญหาที่ได้จากแบบสำรวจและความเห็นของคนในชุมชนมาจัดทำประชาคมและ จัดลำดับความสำคัญของปัญหา พิจารณาตามขนาดของปัญหา ความรุนแรงของปัญหา ความยากง่าย และความตระหนัก ของคนในชุมชนต่อการแก้ปัญหา จากการทำประชาคมปัญหาทางสุขภาพในเขตชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย มีผู้เข้าร่วมประชาคมเป็นผู้สูงอายุ ในชุมชนหน้าโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม) เป็นจำนวน 11 คน ทีมแพทย์/พยาบาล จากโรงพยาบาลใหญ่ รวมทั้งสิ้น 25 คน โดยประเด็นปัญหาที่ได้จากการทำประชาคมคือปัญหาหกลัมในผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้อง กับการคัดกรองสุขภาพของผู้สูงอายุอำเภอหาดใหญ่ปี 2562 ปัญหาที่พบมากที่สุด 4 อันดับคือ โรคติดต่อไม่เรื้อรัง ข้อเข่า เสื่อม ปัญหาสมองเสื่อม และการหกล้ม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้กำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขและคุณภาพชีวิตให้ประชาชนทุกคน ได้รับการดูแสโดย เสมอภาค ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตามความในพระราชบัญญัติเทศบาล โดย ให้บริการประชาชนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน และทั้งนี้ปัญหาสุขภาพที่ได้มาเกิดจากการทำประชาคมและการ จัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยชุมชนอย่างแท้จริง จึงได้จัดทำโครงการ "สถานีวัยเก๋า เคลื่อนไหวดี ไม่มีลับ" เพื่อส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ ประเมินความเสี่ยงต่อการพสัดตกหกล้มของคนในชุมชน รู้สถานะความเสี่ยงของตนเอง ฝึกการทรงตัว การ ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ รวมถึงการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ปลอดภัยต่อการดำเนิน ชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อลดโอกาสลัม โดยจะมีการติดตามโครงการดังกล่าวทุกๆ 3 เตือน เพื่อให้เกิดคววุมยั่งยืน,และเป็นต้นแบบ โครงการชุมชนอันมาจากการมีส่วนร่วมของชุมชนที่แท้จริง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อ การล้ม และได้รับการส่งต่อ/ดูแลต่อเนื่อง

1.ผู้สูงอายุในโครงการอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 100 ได้รับการประเมินสุขภาพและคัดกรองความเสี่ยงต่อการล้มและได้รับการส่งต่อ/รักษาต่อเนื่อง

2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนออกกำลังกายทำให้มีกำลัง กล้ามเนื้อ การทรงตัวดีขึ้น

2.ผู้สูงอายุในโครงการ ร้อยละ 80 ไม่ล้มหรือไม่ล้มซ้ำภายใน 3 เดือน

3 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่ยั่งยืน

3.ผู้สูงอายุในโครงการ ร้อยละ 60 มีกำลังกล้ามเนื้อและการทรงตัวดีขึ้น

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 มี.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 1.กิจกรรมคัดกรองประเมินการล้มผู้สูงอายุในชุมชนและประเมินภาวะเสี่ยงกระดูกพรุน 50 3,100.00 3,100.00
1 มี.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 2.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้สูงอายุภาวะโภชนาการการจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านป้องกันการล้มโดยแพทย์นักกายภาพและนักโภชนาการ 50 7,150.00 7,150.00
1 มี.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 3.กิจกรรมออกกำลังกาย 50 21,600.00 21,600.00
1 มี.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 4.กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ 50 9,500.00 9,500.00
1 มี.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 5.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 50 900.00 900.00
รวม 250 42,250.00 5 42,250.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จากผู้สูงอายุในชุมชนได้มีการรวมกลุ่มทำประชมคม ได้ประเด็นปัญหาสุขภาพที่ชุมชนต้องการแก้ไขอย่างแท้จริง จะทำให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีความตระหนักในการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ และได้รับการประเมินสุขภาพ คัดกรองเสี่ยงต่อล้ม ผู้สูงอายุในชุมชนที่เสี่ยงต่อกระดูกพรุนได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมอัตราการสัมลดลง และเกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2566 15:11 น.