กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศเพื่อสุขภาพ ปี 2566 กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่ ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศเพื่อสุขภาพ ปี 2566 กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7258-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศเพื่อสุขภาพ ปี 2566 กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศเพื่อสุขภาพ ปี 2566 กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศเพื่อสุขภาพ ปี 2566 กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสมาชิกในชุมชนหลังที่ว่าการอำเภอหาดใหญ่ และสมาชิกในชุมชนใกล้เคียง มีความสนใจด้านสุขภาพมากขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าการมีสุขภาพดีเชื่อมโยงกับการ ดูแลสุขภาพ สภาพสังคมในชุมชนเป็นลักษณะสังคมเมือง  เป็นครอบครัวเดียว มีความผูกพันน้อย มีผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้น เด็กก่อนวัยเรียนอยู่กับผู้สูงอายุ กลุ่มวัยเรียนมีพฤติกรรมที่สนใจสื่อสังคมมากเกินไป วัยทำงานมุ่งแต่สัมมาอาชีพ จนทำให้คนในสังคมมีเวลาอยู่ด้วยกันน้อยลง และให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพน้อยลง จนลืมคิดไปว่าหากสุขภาพย่ำแย่อาจจะส่งผลต่อกิจกรรมการดำรงชีวิต ปัญหาโรคติดต่อไม่เรื้อรังในกลุ่มวัยต่างๆ ปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งเกิดจาก มีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่ไม่เหมาะสม หากในพื้นที่มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาจทำให้คนในพื้นที่มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจิตวิญญาณ และ สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวในอนาคต
        และทางกลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่ ได้เล็งความสำคัญสุขภาพของสมาชิกในชุมชนหลังที่ว่าการอำเภอหาดใหญ่ และสมาชิกในชุมชนใกล้เคียง จึงสนใจริเริ่มกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศขึ้น เพื่อให้สมาชิกในชุมชนหลังที่ว่าการอำเภอหาดใหญ่ และสมาชิกในชุมชนใกล้เคียงหันมาสนใจการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และเป็นการส่งเสริมให้สมาชิกชุมชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง อีกทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มและชุมชนเกิดความสามัคคีเพิ่มมากขึ้น ทางกลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวมายังกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรงขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมออกกำลังกาย
  2. 2. กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์
  3. 3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ     2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง     3. เกิดการรวมกลุ่มกันออกกำลังกายมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมออกกำลังกาย

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 17:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนผู้นำออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จำนวน 6 เดือนๆละ ๑๒ ครั้งๆละ ๑ ชม.ๆละ ๓๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสร้างเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง

 

50 0

2. 2. กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 17:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าชุดเครื่องเสียง (ตู้ลำโพงเคลื่อนที่มีล้อลาก พร้อมไมค์) จำนวน ๑ ชุดละ ๙,๕๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับชุดเครื่องเสียง (ตู้ลำโพงเคลื่อนที่มีล้อลาก พร้อมไมค์) จำนวน ๑ ชุดละ ๙,๕๐๐ บาท

 

50 0

3. 3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 17:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าไวนิล ขนาด ๑.๒x ๒.๔ ตรม. (ตรม.ละ ๑๕๐ บาท) (จำนวน ๑ ผืน ๆ ละ ๔๕๐ บาท)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับไวนิล ขนาด ๑.๒x ๒.๔ ตรม. (ตรม.ละ ๑๕๐ บาท) (จำนวน ๑ ผืน ๆ ละ ๔๕๐ บาท)

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ข้อที่ ๑ ประเมินพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ ๒ ประเมินสุขภาพกาย-ใจ โดยผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีสุขภาพร่างกายจิตใจแข็งแรงขึ้น

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรงขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย (2) ข้อที่ 2  เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง (3) ข้อที่ 3  เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรงขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมออกกำลังกาย (2) 2. กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ (3) 3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศเพื่อสุขภาพ ปี 2566 กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7258-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด