โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางรัชนี แก้วมาก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา
ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8287-1-5 เลขที่ข้อตกลง 17/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L8287-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวที่บ้าน เกิดขึ้นจากแนวคิดการทำงานร่วมกันเป็นทีมเยี่ยมบ้าน ในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวที่บ้าน อย่างเป็นองค์รวม (holistic care) เป็นการประสานความร่วมมือของทีมงานเยี่ยมบ้าน เครือข่ายปฐมภูมิโรงพยาบาลเทพา (คลินิกเวชฯศูนย์1และคลินิกเวชฯศูนย์2) ซึ่งประกอบด้วยแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร ทันตแพทย์ แพทย์แผนไทย นักกายภาพ นักโภชนาการ นักจิตวิทยา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และจิตอาสาเยี่ยมบ้าน ในการให้บริการที่เน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง สามารถเป็นตัวอย่างของการทำงาน การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องในชุมชน และมีการเชื่อมโยงระบบการติดตามเยี่ยมบ้าน (Home health care) ที่เป็นรูปแบบชัดเจน เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยและครอบครัว และทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรทางสาธารณสุข และภาคประชาชน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย เสริมพลังอำนาจของผู้ดูแลผู้ป่วย นอกจากนี้ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของโครงการที่จัดระบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม สามารถขยายผลไปใช้กับการดูแลผู้ป่วยกลุ่มอื่นๆต่อไปได้จากการบริการคลินิกโรคเรื้อรังในคลินิกเวชศูนย์1และศูนย์2นุ้ยพบว่า กลุ่มป่วยมีทั้งกลุ่มที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตได้ การดูแลที่เน้นการตั้งรับมากกว่าเชิงรุก ขาดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแบบองค์รวม การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านแบบบูรณาการ การให้คำแนะนำและความรู้แก่ อสม ญาติ และผู้ป่วยที่บ้านจะก่อให้เกิดผลแบบองค์รวมทั้งกาย จิต และสังคม และยังมีผลต่อกลุ่มเป้าหมาย ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลงได้ด้วย
เครือข่ายบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลเทพา(คลินิกเวชฯศูนย์1และศูนย์2) จึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา ปีงบประมาณ ๒๕๖6 ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อคุณภาพชีวิตดี เพื่อให้ อสม. ผู้ป่วย ครอบครัว มีองค์ความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ครอบคลุมและต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑. เพื่อให้บริการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน
- ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ข้อที่ ๓ เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดให้มีการอบรมฟื้นฟูวิชาการเรื่องการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้านการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีการฝึกทบทวนทักษะปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แก่ ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม จิตอาสาเยี่ยมบ้าน ให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น เรื่องการทำแผล การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
- กิจกรรมติดตามภาวะสุขภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้านโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับแกนนำสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านเห็นสภาพที่แท้จริงของผู้ป่วย ประเมินสภาพความเป็นอยู่ สภาพสิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจได้ระดับหนึ่งและประสานภาคีเครือข่ายเข้ามาช่วยเหลือด้านต่างๆ
๒. ผู้ป่วยญาติและอสม.ได้รับความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตัวผู้เยี่ยม รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รู้สึกมีพลัง มีความสุขที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น และมีความเข้าใจ มีความเห็นอกเห็นใจมากขึ้น
๓. ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับคำแนะนำการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลสุขภาพ และได้รับการส่งต่อในการรักษาในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ ๑. เพื่อให้บริการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้าน ร้อยละ ๘๐
2
ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยญาติและอสม.ได้รับความรู้ในการดูแลโรคเรื้อรังร้อยละ ๘๐
3
ข้อที่ ๓ เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยได้รับคำแนะนำการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลสุขภาพร้อยละ ๑๐๐
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้บริการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) ข้อที่ ๓ เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดให้มีการอบรมฟื้นฟูวิชาการเรื่องการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้านการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีการฝึกทบทวนทักษะปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แก่ ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม จิตอาสาเยี่ยมบ้าน ให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น เรื่องการทำแผล การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย (2) กิจกรรมติดตามภาวะสุขภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้านโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับแกนนำสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8287-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรัชนี แก้วมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางรัชนี แก้วมาก
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8287-1-5 เลขที่ข้อตกลง 17/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L8287-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวที่บ้าน เกิดขึ้นจากแนวคิดการทำงานร่วมกันเป็นทีมเยี่ยมบ้าน ในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวที่บ้าน อย่างเป็นองค์รวม (holistic care) เป็นการประสานความร่วมมือของทีมงานเยี่ยมบ้าน เครือข่ายปฐมภูมิโรงพยาบาลเทพา (คลินิกเวชฯศูนย์1และคลินิกเวชฯศูนย์2) ซึ่งประกอบด้วยแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร ทันตแพทย์ แพทย์แผนไทย นักกายภาพ นักโภชนาการ นักจิตวิทยา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และจิตอาสาเยี่ยมบ้าน ในการให้บริการที่เน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง สามารถเป็นตัวอย่างของการทำงาน การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องในชุมชน และมีการเชื่อมโยงระบบการติดตามเยี่ยมบ้าน (Home health care) ที่เป็นรูปแบบชัดเจน เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยและครอบครัว และทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรทางสาธารณสุข และภาคประชาชน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย เสริมพลังอำนาจของผู้ดูแลผู้ป่วย นอกจากนี้ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของโครงการที่จัดระบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม สามารถขยายผลไปใช้กับการดูแลผู้ป่วยกลุ่มอื่นๆต่อไปได้จากการบริการคลินิกโรคเรื้อรังในคลินิกเวชศูนย์1และศูนย์2นุ้ยพบว่า กลุ่มป่วยมีทั้งกลุ่มที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตได้ การดูแลที่เน้นการตั้งรับมากกว่าเชิงรุก ขาดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแบบองค์รวม การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านแบบบูรณาการ การให้คำแนะนำและความรู้แก่ อสม ญาติ และผู้ป่วยที่บ้านจะก่อให้เกิดผลแบบองค์รวมทั้งกาย จิต และสังคม และยังมีผลต่อกลุ่มเป้าหมาย ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลงได้ด้วย เครือข่ายบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลเทพา(คลินิกเวชฯศูนย์1และศูนย์2) จึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา ปีงบประมาณ ๒๕๖6 ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อคุณภาพชีวิตดี เพื่อให้ อสม. ผู้ป่วย ครอบครัว มีองค์ความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ครอบคลุมและต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑. เพื่อให้บริการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน
- ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ข้อที่ ๓ เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดให้มีการอบรมฟื้นฟูวิชาการเรื่องการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้านการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีการฝึกทบทวนทักษะปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แก่ ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม จิตอาสาเยี่ยมบ้าน ให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น เรื่องการทำแผล การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
- กิจกรรมติดตามภาวะสุขภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้านโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับแกนนำสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านเห็นสภาพที่แท้จริงของผู้ป่วย ประเมินสภาพความเป็นอยู่ สภาพสิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจได้ระดับหนึ่งและประสานภาคีเครือข่ายเข้ามาช่วยเหลือด้านต่างๆ ๒. ผู้ป่วยญาติและอสม.ได้รับความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตัวผู้เยี่ยม รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รู้สึกมีพลัง มีความสุขที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น และมีความเข้าใจ มีความเห็นอกเห็นใจมากขึ้น ๓. ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับคำแนะนำการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลสุขภาพ และได้รับการส่งต่อในการรักษาในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ ๑. เพื่อให้บริการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้าน ร้อยละ ๘๐ |
|
|||
2 | ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยญาติและอสม.ได้รับความรู้ในการดูแลโรคเรื้อรังร้อยละ ๘๐ |
|
|||
3 | ข้อที่ ๓ เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยได้รับคำแนะนำการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลสุขภาพร้อยละ ๑๐๐ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้บริการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) ข้อที่ ๓ เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดให้มีการอบรมฟื้นฟูวิชาการเรื่องการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้านการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนมีการฝึกทบทวนทักษะปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แก่ ผู้ดูแลผู้ป่วย อสม จิตอาสาเยี่ยมบ้าน ให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น เรื่องการทำแผล การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย (2) กิจกรรมติดตามภาวะสุขภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้านโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับแกนนำสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเชิงรุกตำบลเทพา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L8287-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรัชนี แก้วมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......