กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยงลดโรค
รหัสโครงการ 66-L4139-2-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมรักษ์สุขภาพ
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 8,871.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางประไพ ขวัญนงรักษ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.597,101.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มชื้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความตันโลหิตสูง หัวใจหลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVO) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นตัน ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนคำใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ส่งผลกระพบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก องค์การอนามัยโลก (WH0) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคสินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ใขปัญหาโรคติดต่อตังกล่าวซึ่งการบริการสุขภาพภายให้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็น รวมทั้งการ บริการสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเป็นสำคัญ โดยเฉพาะโรคความตันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ถือเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้เช่น ความอ้วน ความเครียดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ซึ่งหากประชาชนไม่สามารถควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่อาย 35 ปีขึ้นไปย่อมมีโอกาลเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อชัง และต้องได้รับการรักษารับประทานยาตลอดชีวิต อีกทั้งหากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ส่งผลให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น จากชัอมูลการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากร 35 ปีขึ้นไป (ระบบ HOC รพ.สต.บ้านทุ่งยามู ปี 2566) พบว่า เสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำนวน283คนคิดเป็นร้อยละ 32.25 เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 122 คน คิดเป็นร้อยละ 17.78 รพ.สต.บ้านทุ่งยามูเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มวัยทำงานจึงจัดทำ โครงการนี้ขึ้นเพื่อเพื่อส่งเสริมให้อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ตามหลัก 3อ2ส.เพื่อช่วยประชาสัมพันธ์และติดตามประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเสี่ยงเบาหวาน ซึ่งมีจำนวนมากในพื้นที่ เพื่อไม่ให้กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวกลายเป็นกลุ่มป่วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการคัดกรองและติตามกลุ่มเสี่ยงความดัน เบาหวาน

ร้อยละ 100 ของ อสม. สามารถตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันและทำแบบประเมินพฤติกรรมได้ถูกต้องตามมาตรฐาน

2 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังสามารถมีระดับความดัน และระดับน้ำตาลปลายนิ้วกลับเข้าสู่เกณฑ์ปกติ

ร้อยละ 5 ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันระดับน้ำตามปลายนิ้วและความดันโลหิตลดลงจากเดิม

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 2.เตรียมทำข้อมูลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเสี่ยงเบาหวานปี2566 3.ประชาสัมพันธ์และชี้แจงโครงการแก่อสม. 4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความแก่อสม .เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานการดูแลสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส โรคหลอดเลือดหัวใจ/สมอง พร้อมฝึกการประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 5.อสม. ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงเบาหวานหลังได้รับคำแนะนำจาก อสม. ทุกไตรมาสโดยประเมินภาวะ MBI วัดรอบเอว ตรวจระดับน้ำตาล (DTX) ห่างจากตรวจครั้งแรก 1 เดือน 5.สรุปโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่กลายเป็นกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2566 13:25 น.