กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความผิดปกติสายตาและแก้ไขปัญหาการมองเห็นไม่ชัดในกลุ่มผู้สูงอายุ
รหัสโครงการ 66-L5252-02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลสำนักแต้ว
วันที่อนุมัติ 7 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 213,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกัญชลิกา ขุนศรี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.567,100.516place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เมื่ออายุมากขึ้น อวัยวะทุกส่วนในร่างกายย่อมเสื่อมลง รวมถึงดวงตา ซึ่งเป็นอวัยวะที่คน ส่วนใหญ่มักละเลยการตรวจ เพราะคิดว่าไม่มีปัญหา กว่าจะมาพบจักษุแพทย์ก็เมื่ออาการของโรครุนแรง จนบางครั้งอาจไม่สามารถรักษาให้หายได้โรคตาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุที่ควรรู้จัก เพื่อ
200.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลและถนอมสุขภาพสายตา และสามารเข้าถึงบริการสาธารณสุข

 

2 ผู้สูงอายุได้ตรวจคัดกรองและป้องกันภาวะผิดปกติของการมองเห็นของผู้สูงอายุ เช่น สายตาสั้น สายตายาว ต้อกระจก ต้อเนื้อ โรคตาในผู้สูงอายุ อย่างทันท่วงที

 

3 มีประวัติผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาเพื่อส่งต่อการรักษาแพทย์เฉพาะทางในการตัดแว่นสายตาหรือลอกกระจกตาต่อไป

 

4 เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาด้านการมองเห็น ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ และมีความสุขกับการใช้ชีวิตมากขึ้น

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูลมาวางแผนเพื่อเขียนโครงการ(1 มี.ค. 2566-10 มี.ค. 2566) 0.00              
2 ประสานติดต่อ/จัดหาวิทยากรเพื่อให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพดวงตาผู้สูงอายุ และประชาสัมพันธ์โครงการ(10 มี.ค. 2566-31 มี.ค. 2566) 0.00              
3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน รพ.สต.ในพื้นที่ตำบลสำนักแต้ว(10 มี.ค. 2566-31 มี.ค. 2566) 0.00              
4 สรุปและประเมินผลโครงการ(20 มี.ค. 2566-20 มี.ค. 2566) 0.00              
5 ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการและตรวจคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ(3 เม.ย. 2566-28 เม.ย. 2566) 0.00              
6 ส่งต่อการรักษาแพทย์เฉพาะทางในการตัดแว่นสายตาหรือลอกกระจกตาต่อไป(3 เม.ย. 2566-28 เม.ย. 2566) 0.00              
รวม 0.00
1 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูลมาวางแผนเพื่อเขียนโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 ประสานติดต่อ/จัดหาวิทยากรเพื่อให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพดวงตาผู้สูงอายุ และประชาสัมพันธ์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน รพ.สต.ในพื้นที่ตำบลสำนักแต้ว กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 สรุปและประเมินผลโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
5 ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการและตรวจคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
6 ส่งต่อการรักษาแพทย์เฉพาะทางในการตัดแว่นสายตาหรือลอกกระจกตาต่อไป กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลและถนอมสุขภาพสายตา และสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
2.ผู้สูงอายุได้ตรวจคัดกรองและป้องกันภาวะผิดปกติของการมองเห็นของผู้สูงอายุเช่นสายตาสั้น สายตายาว ต้อกระจก ต้อเนื้อ โรคตาแห้งและโรคตาในผู้สูงอายุ อย่างทันท่วงที
3.มีประวัติผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาเพื่อส่งต่อการรักษาแพทย์เฉพาะทางในการตัดแว่นสายตา หรือลอกกระจกตาต่อไป 4.ผู้สูงอายุที่มีสายตาผิดปกติได้รับแว่นตา และได้รับการตรวจติดตามประเมินในกรณีพบความผิดปกติ
ของสายตา ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเกี่ยวกับสายตาที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมากขึ้น
5.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็นได้รับการช่วยเหลือให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถดำรงชีวิตได้ ตามปกติและมีความสุขกับการใช้ชีวิตมากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2566 10:15 น.