กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
1.00 80.00

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 6 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 5 คะแนน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 26 รองลงมา 5 คะแนน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และ 3 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10 คะแนนน้อยที่สุดที่ 1 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 2 คะแนน จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 38
หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 6 คะแนน จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมา 5 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 6 คะแนน จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 6 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 5 คะแนน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 26 รองลงมา 5 คะแนน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และ 3 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10 คะแนนน้อยที่สุดที่ 1 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 2 คะแนน จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 38 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 6 คะแนน จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมา 5 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 6 คะแนน จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20

2 เพื่อเพิ่มศักยภาพสมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะ ไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น อย่างถูกต้องร้อยละ 80
1.00 80.00

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน พบว่ากลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือ ในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นฯ โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นฯ วิทยากรได้สอนรำ 25 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เก๊กอย่างสม่ำเสมอ ทำให้มีท่ารำไม่ค่อยสวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้าๆหากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆ ไปอย่างช้าๆ จนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นฯ ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน พบว่ากลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือ ในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นฯ โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นฯ วิทยากรได้สอนรำ 25 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เก๊กอย่างสม่ำเสมอ ทำให้มีท่ารำไม่ค่อยสวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้าๆหากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆ ไปอย่างช้าๆ จนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นฯ ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

3 เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม นำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง นำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
1.00 80.00

จากการประเมินตนเองในเรื่องพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย และอารมณ์ มีคำถามทั้งหมด 20 ข้อ ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ต้องขีดเครื่องหมายลงในช่องว่างความถี่ที่ตนเองปฏิบัติในชีวิตประจำวัน คือ 1) ถ้าทำเป็นประจำ 5-7 วันต่อสัปดาห์ ได้ข้อละ 5 คะแนน 2) ถ้าเป็นครั้งคราว 1-4 วันต่อสัปดาห์ ได้ข้อละ 3 คะแนน 3) ไม่เคยเลย ได้ข้อละ 0 คะแนน และจากการประเมินฯ พบว่ากลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพของท่านดีมากจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2 รองลงมาพฤติกรรมด้านสุขภาพดี จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 50 พฤติกรรมด้านสุขภาพปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44 ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพของดีมากและพฤติกรรมด้านสุขภาพดี มีจำนวน 26 คิดเป็นร้อยละ 52 และกลุ่มที่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพปานกลางและควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 48

 

จากการประเมินตนเองในเรื่องพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย และอารมณ์ มีคำถามทั้งหมด 20 ข้อ ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ต้องขีดเครื่องหมายลงในช่องว่างความถี่ที่ตนเองปฏิบัติในชีวิตประจำวัน คือ 1) ถ้าทำเป็นประจำ 5-7 วันต่อสัปดาห์ ได้ข้อละ 5 คะแนน 2) ถ้าเป็นครั้งคราว 1-4 วันต่อสัปดาห์ ได้ข้อละ 3 คะแนน 3) ไม่เคยเลย ได้ข้อละ 0 คะแนน และจากการประเมินฯ พบว่ากลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพของท่านดีมากจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2 รองลงมาพฤติกรรมด้านสุขภาพดี จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 50 พฤติกรรมด้านสุขภาพปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44 ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพของดีมากและพฤติกรรมด้านสุขภาพดี มีจำนวน 26 คิดเป็นร้อยละ 52 และกลุ่มที่มีพฤติกรรมด้านสุขภาพปานกลางและควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 48