กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ รพ.สต.บ้านหนองปรือ ประจำปี ๒๕๖๖
รหัสโครงการ L1526
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ
วันที่อนุมัติ 18 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,556.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปาริฉัตร น้อยนาฎ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.798,99.563place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (15,556.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หาย และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี จนเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญของประเทศ      ผู้ที่เป็นเบาหวานมาหลายปีหากควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดีมีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ได้ง่าย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดหลอดเลือดสมอง หรืออาจเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาไตและเท้า ซึ่งปลายประสาทเท้าเสื่อมทำให้เกิดแผลที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เรื้อรัง และนำไปสู่การติดเชื้อที่รุนแรงอาจทำให้เกิดการสูญเสียเท้าได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยครอบครัวและชุมชน สถานการณ์ของข้อมูลโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น จึงมีการปรับรูปแบบการให้ความรู้เป็นรายบุคคล รายกลุ่มย่อย(Self help group) ในสถานบริการ และในชุมชนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จริงซึ่งกันและกัน
จากสถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวานในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง      มีผู้ป่วยเบาหวานที่มารับการรักษาและรับยาต่อเนื่องในระบบ จำนวน 1๘๒ ราย ส่วนมากควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี จากการประเมินผลการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 256๕ ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า จำนวน 1๔๐ คน ร้อยละ ๗๖.๙๒ ผลการตรวจเท้าอยู่ระดับเสี่ยงน้อย จำนวน 1๖๗ คน คิดเป็นร้อยละ 9๑.๗๕ ระดับเสี่ยงปานกลาง จำนวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๒๔
ผู้ป่วยเบาหวานควรมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน อาการแทรกซ้อนที่สำคัญ โดยเฉพาะการดูแลเท้าที่ถูกวิธีเพื่อป้องกันการสูญเสียอวัยวะ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ จึงได้จัดทำโครงการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าตนเองได้อย่างถูกต้องต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าตนเองได้อย่างถูกต้อง
  1. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าได้อย่างถูกต้อง
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าตนเองได้อย่างถูกต้อง

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

13 มี.ค. 66 0.00 0.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ตรวจสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ไม่ใช้งบประมาณ
  2. วิเคราะห์สุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ไม่ใช้งบประมาณ
  3. ประสานผู้ป่วยเบาหวานที่มีปัญหาสุขภาพเท้า และขอความยินยอมเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน
  4. จัดอบรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน โดยผู้เชี่ยวชาญ 1) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ
    จำนวน 1 ผืนๆ ละ 390 บ. = 390 บ. 2) ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๑ คน
    3 ชม.ๆ ละ 600 บ. = ๑,๘00 บ. 3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    จำนวน 40 คนๆ ละ 25 บ. = 1,000 บ.
  5. ค่าชุดสาธิตการดูแลเท้าด้วยตนเอง ของผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 40 ชุดๆละ ๒๕๐ บ.
    เป็นเงิน 1๐,๐๐๐ บาท
  6. ประเมินสุขภาพเท้าตามแบบบันทึกการดูแลเท้าด้วยตนเอง แบบประเมินสุขภาพเท้า จำนวน ๑๘๒ ใบๆละ ๓ บ. เป็นเงิน ๕๔๖ บ. ๗. แผ่นพับเรื่องโรคเบาหวาน ค่าแผ่นพับสีโรคเบาหวาน จำนวน ๑๘๒ ชุดๆละ ๑๐ บ.เป็นเงิน ๑,๘๒๐ บ. รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๕,๕๕๖ บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันห้าร้อยห้าสิบหกบาทถ้วน)
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ควบคู่กับการดูแลรักษาเท้า ซึ่งจะเป็นการชะลอการเกิด ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ทำให้ผู้เป็นเบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2566 11:25 น.