กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) รพ.สต.บ้านบือซู ปี 2566 ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาอีซะห์ หะยีสาและ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) รพ.สต.บ้านบือซู ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8278-01-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) รพ.สต.บ้านบือซู ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) รพ.สต.บ้านบือซู ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) รพ.สต.บ้านบือซู ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8278-01-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นหน่วยย่อยที่สำคัญที่ประกอบด้วยบุคคล ที่มีปฏิสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกัน ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ญาติพี่น้อง ซึ่งแต่ละคนจะมีพฤติกรรมสุขภาพที่แตกต่างกัน มีปัญหาด้านสุขภาพ ที่อาจจะเหมือนกันหรือต ่างกันแล้วแต ่ สุขภาวะของแต ่ละบุคคล  การที่จะทำให้ครอบครัวนั้นๆ มีสุขภาพดีมีชีวิตยืนยาว และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขนั้น จะต้องได้รับการดูแล แนะนำ ส่งเสริม ป้องกัน สนับสนุนความรู้และทักษะในการดูแล สุขภาพและจัดการสุขภาพตนเองและชุมชนให้แก่แกนนำ ภาคประชาชนและเพื่อให้ประชาชนและ ชุมชนพึ่งตนเองได้อย ่างน้อยในแต ่ละครอบครัวต้องมีการดูแลและจัดการสุขภาพของคน ในครอบครัวได้โดยเฉพาะเด็ก ผู้ป่วย ผู้สูงอายุผู้พิการ
        ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชนเพื่อประชาชนสุขภาพดี จึงต้องขยายเครือข่ายการสร้างความรู้ให้ประชาชนจากชุมชนไปสู่ถึงครัวเรือนด้วยการกำหนดให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ด้วยการให้นำบุตรหลาน ญาติ สมาชิกในครอบครัวหรือผู้ดูแลมาเข้ารับการอบรมหรือเรียนรู้ร่วมกับญาติที่ป่วยว่าควรจะดูแลอย่างไรและจะทำอย่างไรให้คนในครอบครัว มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อเสริสร้างศักยภาพของครอบครัวในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการสร้างกระบวนการให้ประชาชนดำเนินการตามหน้าที่ของพลเมืองในการมีความรู้ ความเข้าใจและประพฤติปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองอย่างรับผิดชอบด้วยความรู้สึกว่า “สุขภาพเป็นของเรา” ดังนั้นทาง รพ.สต.บ้านบือซู จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ขึ้น เพื่อให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่งในครอบครัวที่ตกลง เห็นพ้องกันว่าจะสามารถเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวนำ ส ่งเสริม ป้องกันไม ่ให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพขึ้น ซึ่งบุคคลที่ดีและเหมาะสมที่สุดก็คือบุคคล ในครอบครัวนั้นๆ เอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
    2. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีทักษะและประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพให้กับครอบครัวที่เหมาะสมกับโรค วัยความเสี่ยง ภัยสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองด้านสุขภาพอนามัยที่ถูกต้องร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว(กสค.) รพ.สต.บ้านบือซู ปี 2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L8278-01-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาอีซะห์ หะยีสาและ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด