กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 ”
ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางภัสรา หะมะ




ชื่อโครงการ โครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5310-1-1 เลขที่ข้อตกลง 01/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาวมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี (2) สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test (3) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน (4) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งเต้านมทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ (2) รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test (3) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน (4) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่่่ ต.เขาขาว เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test และโรคมะเร็งเต้านม (5) ค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนโดยแกนนำสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินการต่อเนื่องในทุกๆปี

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายของทุกประเทศทั่วโลก แต่ละปีจะมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ 11 ล้านคน และตายด้วยโรคมะเร็ง 7 ล้านคน/ปี ในประเทศไทยโรคมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่ทำให้สตรีอายุ 30 - 70 ปีเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือมะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ใหญ่ ตามลำดับ มะเร็งในผู้หญิงในปัจจุบันนี้ นับว่ามีความน่าห่วงเพิ่มมากขึ้น จากการใช้ชีวิตและด้วยสภาพแวดล้อมสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมะเร็งที่ถือได้ว่าเป็นมะเร็งที่น่าห่วงมากที่สุดในผู้หญิงยุคนี้คือ มะเร็งปากมดลูก จากตัวเลขที่มีเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี และพบผู้ป่วยที่มีอายุน้อยลงเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย และเปลี่ยนคู่นอนบ่อยๆ ซึ่งมะเร็งปากมดลูกสามารถป้องกันได้ และสามารถตรวจคัดกรองหาความผิดปกติได้ก่อนระยะเป็นมะเร็ง จากข้อมูลจากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 ระบุว่า ในแต่ละปีจะพบว่าสตรีไทยป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ 5,422 ราย พบว่าในแต่ละวันจะมีสตรีป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกเพิ่มถึง 15 ราย และแต่ละปีจะมีสตรีไทยเสียชีวิตเพราะมะเร็งปากมดลูกถึง 2,300 รายต่อปี หรือเฉลี่ยจะมีสตรีไทยเสียชีวิตเพราะมะเร็งปากมดลูกวันละ 6 ราย ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงมาก จากการดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของรพ.สต.เขาขาว ปี 2563 สตรีอายุ 30- 60 ปีจำนวนทั้งหมด 1,127 คนได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 21.21ไม่พบความผิดปกติ ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมสตรีอายุ 30- 70 ปี จำนวนทั้งหมด 1,370 คนได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 1,267คน คิดเป็นร้อยละ 92.48 พบเป็นก้อนที่เต้านม ที่ไม่ใช่มะเร็งจำนวน 2 คน ส่งต่อพบแพทย์และเป็นมะเร็งเต้านม จำนวน 1 ราย พบเป็นก้อนที่เต้านมในรายที่เป็นมะเร็งกลับเป็นซ้ำจำนวน 2 ราย และเป็นในรายที่มีอายุเกิน 70 ปี จำนวน 1 ราย รพ.สต.เขาขาวได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 66 เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาโรคในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์การเกิดโรคก่อนเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ การควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรอง โดยวิธีการตรวจ HPV DNA Test คือ การตรวจในระดับโมเลกุล เพื่อหาเชื้อ HPV ความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก ประมาณ 99% โดยมีวิธีการตรวจเหมือนตรวจภายใน คือเก็บเซลล์บริเวณตัวอย่างที่ปากมดลูกช่องคลอดด้านใน ส่งตรวจเหมือนวิธีการตรวจด้วยน้ำยา ซึ่งสามารถที่จะตรวจหาเซลล์และแยกน้ำยาเพื่อจะตรวจหาเชื้อ HPV DNA การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเบื้องต้นด้วยวิธี เอชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA Test) เป็นการตรวจด้วยวิธีเจาะลึกระดับดีเอ็นเอเพื่อตรวจหาเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ คือสายพันธุ์ 16, 18 และ เอชพีวี อีก 12 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักสูงถึง 99% ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิง และเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ 16 และ18 สองสายพันธุ์นี้เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปากมดลูกสูงถึง 70%ดังนั่ันวิธีการตรวจ (HPV DNA Test) จึงเป็นวิธีการตรวจที่ สาธารณสุขจังหวัดสตูลได้นำมาตรวจให้กับประชาชนในจังหวัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว จึงได้จัดทำโครงการตรวจมะเร็งปากมดลูก HPV DNA Test ปี 2566 โดยตั้งเป้าหมาย จัดทำแผนเร่งรัดสตรีเพื่อตรวจคัดกรองวิธีดังกล่าวให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปีปีงบประมาณ 2566 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 1,185 คน ตั้งเป้าหมายในการตรวจ 5 ปี ให้ได้อย่างน้อย 80 เปอร์เซ็นคือ 948 คน ในปีงบประมาณ 2566 จำนวน 237 คน คิดเป็นร้อยละ 20 เปอร์เซ็น กำหนดมาตรการสำรวจกลุ่มเป้าหมายทุกพื้นที่ ค้นหา จูงใจให้รับการตรวจ (HPV DNA Test) ทุกราย กำหนดแนวทางการเก็บความครอบคลุม และติดตามการบันทึกผลงานลงโปรแกรมฯอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีผลผิดปกติและเป็นมะเร็ง ต้องได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐานทุกราย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาวมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
  2. สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน
  4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งเต้านมทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ
  2. รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่่่ ต.เขาขาว เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test และโรคมะเร็งเต้านม
  5. ค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนโดยแกนนำสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 237
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาวมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี 2.สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test ร้อยละ 20 3.แกนนำสุขภาพค้นหาและให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงมะเร็งเต้านมในชุมชนได้ 4.สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของเต้านมได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน ร้อยละ 100 5.สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน ร้อยละ 100แแ1.


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ค้นหาและสำรวจกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกหญิงอายุ 30-60 ปี และกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมอายุ 30-70 ปี ในพื้นที่ต.เขาขาว 2.ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการและแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 3.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ และ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ตามวันเวลา - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับประชุมคณะทำงาน จำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ

 

0 0

2. รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test แก่กลุ่มเป้าหมาย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี ที่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 237 คน เป็นเงิน 5,925 บุาท - ค่าอาหารกลางวันสำหรับคณะทำงาน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่มคณะทำงาน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test แก่กลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่่่ ต.เขาขาว เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test และโรคมะเร็งเต้านม

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมแก่แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรี
2 ฝึกปฏับัติการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรี 3 แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลากรสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอบรมแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาว จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 70 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวันอบรมแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาว จำนวน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 70 คน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 5,250 บาท
- ค่าวิทยากรอบรม 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 3,600 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รู้การปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่่่ ต.เขาขาว เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test และโรคมะเร็งเต้านม

 

0 0

4. ค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนโดยแกนนำสุขภาพ

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนโดยแกนนำสุขภาพ 2 แกนนำสุขภาพให้คำแนะนำและส่งต่อหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนมาที่รพ.สต.เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพตรวจยืนยัน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแกนนำสุขภาพในการค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 70 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าอาหารกลางวันแกนนำสุขภาพ จำนวน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 70 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 5,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนโดยแกนนำสุขภาพ

 

0 0

5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาวมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง และผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลากรสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
70.00 70.00

 

2 สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test ร้อยละ 20
237.00 237.00

 

3 สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ส่งต่อรายที่ผิดปกติเพื่อรับการรักษาตามมาตรฐาน ร้อยละ 100
0.00

 

4 สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งเต้านมทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ส่งต่อรายที่ผิดปกติเพื่อรับการรักษาตามมาตรฐาน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 237 237
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 237 237
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่ต.เขาขาวมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี (2) สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test (3) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน (4) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งเต้านมทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ (2) รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test (3) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติมะเร็งปากมดลูกทุกคนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ตรวจวินิจฉัยและรักษาตามมาตรฐาน (4) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและแกนนำสตรีในพื้นที่่่ ต.เขาขาว เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test และโรคมะเร็งเต้านม (5) ค้นหาหญิงกลุ่มเสียงมะเร็งเต้านมในชุมชนโดยแกนนำสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินการต่อเนื่องในทุกๆปี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2566

รหัสโครงการ 66-L5310-1-1 รหัสสัญญา 01/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการหญิงเขาขาวปลอดภัยห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5310-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภัสรา หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด