กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเล่นวอลเล่ย์บอล
รหัสโครงการ L51850203
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนป่าชิงเข้มแข็งร่วมแรงออกกำลังกาย
วันที่อนุมัติ 14 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 12,370.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกันยา แก้วนะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.939,100.686place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการกีฬาแห่งประเทศไทย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและวัยรุ่นที่จะใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย มากกว่าที่จะเอาเวลาว่างไปมั่วสุมสิ่งเสพติดหรือปฏิบัติตนในทางที่ผิดๆ ดังนั้นการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาของชาติ และส่งเสริมให้ใช้กีฬาเป็นสื่อในการแก้ไขปัญหายาเสพติดปัญหาด้านสังคม และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนและยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น เพื่อให้เด็ก เยาวชน ได้มีความรู้ความเข้าใจในการนำทักษะขั้นพื้นฐานกีฬาวอลเลย์บอลมาใช้ในการออกกำลังกาย เล่นกีฬาอย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสมรรถภาพทางกายและจิตใจ เพื่อสุขภาพและกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางในการออกกำลังกายในชุมชน ทำโครงการเรื่องสร้างสายสัมพันธ์แบ่งปันทักษะกีฬา “วอลเลย์บอล” รณรงค์ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมด้านกีฬาและออกกำลังตลอดจนส่งเสริมให้เยาวชน และประชาชนได้เล่นกีฬาและออกกำลังกายที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และยุทธศาสตร์การพัฒนาการกีฬาขั้นพื้นฐานให้ความสำคัญแก่การพัฒนาส่งเสริมศักยภาพทักษะการเล่นกีฬา และการออกกำลังกายขั้นพื้นฐานให้แก่เด็กและเยาวชน ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่ง ตัวชี้วัดหนึ่งของคุณภาพชีวิตที่ดี คือ การมีสุขภาพที่ดี ผลจากการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสารสนเทศ ได้ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชน ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ไม่ถูกต้องทั้งสิ้น เช่น การกินอาหารที่มีไขมันสูง ภาวะเครียด และขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น ซึ่งโรคตามที่กล่าวแล้วนั้น สามารถป้องกันได้ด้วยการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สุขภาพของประชาชนการส่งเสริมสุขภาพที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ซึ่งเป็นยาที่ดีที่สุดของมนุษย์

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

75.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายที่เหมาะสม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2566 15:50 น.