กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความปลอดภัย การป้องกันการจมน้ำ รพ.สต.บ้านตลิ่งชัน
รหัสโครงการ 66-L3346-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน โดย นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 10,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 10,850.00
รวมงบประมาณ 10,850.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ความปลอดภัยในเด็กเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะการจมน้ำ ตกน้ำ ทั่วโลกเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีเสียชีวิตจากการจมน้ำ ปีละ 135,585 คน เฉลี่ยวันละ 372 คนสำหรับประเทศไทยการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยกลุ่มอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยเฉลี่ยปีละ 1,400 คน หรือเฉลี่ยวันละ 4 คน ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุ (สำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, พฤศจิกายน 2559)จากข้อมูลสถิติปี 2559 ของจังหวัดพัทลุงมีเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ 7 ราย จากประชากรเด็กทั้งหมด 97,002 คน คิดเป็นอัตราตาย 8.2 ต่อเด็กแสนคน ซึ่งในปี 2560 ได้กำหนดเป้าหมายเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำไม่เกิน 6 ราย อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เท่ากับ 6.2 ต่อประชากรเด็กแสนคน การป้องกันการจมน้ำในเด็กควรมีมาตรการในการดำเนินงานให้ครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดการจมน้ำทั้งทางด้านปัจจัยตัวบุคคลและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้ก่อการดี (MARIT MAKER) เป็นแนวทางการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ที่ครอบคลุมในมาตรการป้องกันด้านต่างๆ ที่สำคัญและเป็นกลยุทธ์ที่กระตุ้นให้พื้นที่เกิดการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำแบบสหสาขาต่อเนื่องและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ดังนั้น เพื่อป้องกันการสูญเสียอันจะเกิดขึ้นแก่เด็กและประชาชนทั่วไป ให้มีความปลอดภัยจากการจมน้ำ ตกน้ำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้และทักษะการเพื่อป้องกันการจมน้ำ ส่งเสริมความปลอดภัยทางน้ำเป็นจุดเริ่มต้นและพัฒนาการดำเนินการป้องกันการจมน้ำ ผู้ก่อการดี(MERIT MAKER) ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดอุบัติการณ์จมน้ำในชุมชน

ลดอุบัติการณ์จมน้ำในชุมชนร้อยละ 70

70.00 70.00
2 เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีสามารถรู้วิธีเอาตัวรอดเมื่อจมน้ำและช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล

ร้อยละ 80เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีสามารถรู้วิธีเอาตัวรอดเมื่อจมน้ำและช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล

80.00 80.00
3 เพื่อให้เกิดมาตรการการดำเนินงานการป้องกันการจมน้ำในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านตลิ่งชัน

มีป้ายเตือนจากการจมน้ำบริเวณจุดเสี่ยงทุกจุดในชุมชนร้อยละ 100

100.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,850.00 0 0.00
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้การป้องกันการจมน้ำ สร้างความปลอดภัยทางน้ำ 0 6,650.00 -
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ประชาสัมพันธ์รณรงค์การสร้างควมปลอดภัยป้องกันการจมน้ำในชุมชน 0 4,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผลที่คาดว่าจะได้รับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการป้องกันการจมน้ำและรู้วิธีช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำได้อย่างปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2566 00:00 น.