กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ


“ โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนวัดช่องเขา ”

ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางกรองกานต์ จันทร์นก

ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนวัดช่องเขา

ที่อยู่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5175-02-06 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนวัดช่องเขา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนวัดช่องเขา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนวัดช่องเขา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5175-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะเกิดจากความมักง่ายและขาดจิตสำนึก ถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นเป็นสาเหตุที่พบบ่อยมาก ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่งน้ำโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ หรือแม้กระทั่งการซื้อของการใช้สิ่งของของนักเรียนเช่น ขนม กระดาษ แก้วน้ำ ขวดน้ำ โดยใส่ถุงพลาสติกหลายๆถุง ทำให้มีขยะเพิ่มในปริมาณมาก ในปัจจุบัน! ใครหลายๆคนอาจจะเคยชินกับการทิ้งขยะเรี่ยราดไม่เป็นที่เป็นทาง ไม่ว่าจะเป็นที่สวนสาธารณะ ถนน ที่ทำงาน หรือแม้กระทั่งโรงเรียน รอบๆที่ตนเองอยู่ตรงนั้น เช่น โต๊ะหินอ่อน โต๊ะนักเรียน บนพื้น ท่อระบายน้ำ หรือแม้แต่ต้นไม้ที่เป็นซอกเป็นรูก็ยังทิ้งไปได้มีแต่นักเรียนส่วนน้อยและคุณครูที่เห็นว่าการทิ้งขยะไม่ถูกที่ทำให้โรงเรียนไม่สะอาด ดูไม่งามตา และคุณครูทุกๆคน ก็สั่งสอนลูกของตนให้มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย และมีความรักษาความสะอาดอยู่แล้ว โดยการจัดกลุ่มรับผิดชอบตามจุดที่ได้รับมอบหมายทำความสะอาดทุกวันแต่เป็นการแก้ปัญหาปลายเหตุและเพียงบรรเทาไม่ให้ขยะมันมากเกินไป เพราะฉะนั้นการสร้างวินัย และส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องภัยร้ายที่เกิดจากขยะให้กับ นักเรียน ครูและผู้ปกครอง ซึ่งผู้ปกครองเองมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งเพราะทุกฝ่ายต้องประสานความร่วมมือกันจึงจะประสบผลสำเร็จได้ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจากขยะซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อาทิ เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุงลาฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค มีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรก น่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมาก เกิดกลิ่นรบกวน เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน โรงเรียน ได้ตระหนักถึงความสำคัญเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ นี้ขึ้น ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกการลด คัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในโรงเรียน การรวบรวมขยะรีไซเคิลเพื่อจำหน่าย และขยะที่ใช้ไม่ได้ ส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้อยละของนักเรียนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
  2. การคัดแยกขยะของกลุ่มสามาชิกธนาคารขยะ
  3. การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะแก่ครัวเรือนผู้ปกครอง
  4. การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 121
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีจิตสำนึกต่อสังคม และโรงเรียนมีความสะอาดน่าอยู่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การคัดแยกขยะของกลุ่มสามาชิกธนาคารขยะ

วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดหานักเรียนเพื่อจัดตั้งกลุ่มธนาคารขยะในโรงเรียนโดยมีนักเรียนที่ทำหน้าที่ซื้อขายขยะจากในโรงเรียนเเละผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนมีกลุ่มธนาคารขยะเเละสามารถเเยกขยะที่ได้ซื้อมาเพื่อนำไปขายเเละนำเงินเข้าธนาคารขยะไปซื้อไข่ ขยะเเลกไข่

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โรงเรียนวัดช่องเขาได้ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้เเก่นักเรียน เรื่อง การคัดเเยกขยะในโรงเรียน โดยนายสาธิต เผ่าพันธ์ วิทยาการ จากองค์การบริหารส่วนตำบลบาโหย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน นักเรียนแกนนำ นักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ธนาคารขยะ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนวัดช่องเขา ได้ความรู้เเละสามรถคัดเเยกขยะเป็น

 

0 0

3. การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในโรงเรียน

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดตั้งกลุ่มนักเรียนแกนนำเพื่อให้นักเรียนเเบ่งกลุ่มรับผิดชอบในเเต่ละพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนเเกนนำได้เเนะนำน้องๆในการคัดเเยกขยะในเเต่ละเขตพื้นที่ที่รีบผิดชอบของตัวเอง

 

0 0

4. การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในโรงเรียน

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดตั้งกลุ่มนักเรียนแกนนำเพื่อให้นักเรียนเเบ่งกลุ่มรับผิดชอบในเเต่ละพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนเเกนนำได้เเนะนำน้องๆในการคัดเเยกขยะในเเต่ละเขตพื้นที่ที่รีบผิดชอบของตัวเอง

 

0 0

5. การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะแก่ครัวเรือนผู้ปกครอง

วันที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนสามารถนำความรู้จากการอบรมที่โรงเรียนและสามรถนำความรู้ที่ได้ไปเเนะนำผู้ปกครอง เเละสามารถคัดเเยกขยะในครัวเรือนได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองสามารถคัดเเยกขยะเป็นเเละนำขยะที่สามารถรีไซเคิลได้นำมาขายที่ธนาคารขยะที่โรงเรียน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรฃเรียนวัดช่องเขา จัดขึ้นเพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ สร้างความเข้าใจ ความตระหนักในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ซึ่่งนำไปสู่การลดปริมาณขยะในโรงเรียนและสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับนักเรียน รวมถึงกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุพาหะนำโรคติดต่อมาสู่นักเรียน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ร้อยละของนักเรียนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่คัดเเยกขยะเป็นประจำเพิ่มมากขึ้น
10.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 121
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 121
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละของนักเรียนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (2) การคัดแยกขยะของกลุ่มสามาชิกธนาคารขยะ (3) การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะแก่ครัวเรือนผู้ปกครอง (4) การจัดต้้งกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดแยกขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนวัดช่องเขา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5175-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรองกานต์ จันทร์นก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด