กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ รอมฎอนปลอดโรคร้านอาหารปลอดภัยประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ ”

ตำบลตะลุปัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรุสนาณี ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ รอมฎอนปลอดโรคร้านอาหารปลอดภัยประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ

ที่อยู่ ตำบลตะลุปัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7010-01-07 เลขที่ข้อตกลง 009/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มีนาคม 2566 ถึง 21 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ รอมฎอนปลอดโรคร้านอาหารปลอดภัยประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะลุปัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ รอมฎอนปลอดโรคร้านอาหารปลอดภัยประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ รอมฎอนปลอดโรคร้านอาหารปลอดภัยประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะลุปัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7010-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มีนาคม 2566 - 21 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,862.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละวันของมนุษย์ สิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นก็คือ อาหาร อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต และเป็นสาเหตุสำคัญต่อการมีสุขภาพดีหรือไม่ดีของผู้บริโภคทั้งนี้ เพราะมีโรคหลายโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหรือบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนจากสารเคมีหรือจุลินทรีย์อันเนื่องมาจากเทคโนโลยีการผลิตอาหารมีการนำสารเคมีที่ไม่เหมาะสมมาใช้ในกระบวนการผลิตอาหาร และอาหารที่จัดไว้บริการไม่สะอาด ไม่ปลอดภัย ก็อาจทำให้เกิดโรคระบาดได้ โดยมีน้ำและอาหารเป็นสื่อนำเชื้อโรคซึ่งจะก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้และการดูแลสุขภาพในเรื่องความสวยความงามก็เป็นอีกหนึ่งเรื่องของมนุษย์ ที่มีการใช้บริการกันแถบทุกวัน จนไม่สามารถแยกออกจากกันได้ และร้านค้าที่ให้บริการก็ยังไม่ให้ความสำคัญกับหลักสุขาภิบาลที่ถูกต้องด้วย ดังนั้นเพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็นประชาชนในเขตเทศบาลเมืองตะลุบัน และประชาชนในละแวกใกล้เคียง ในด้านการ บริโภคอาหารจากแหล่งจำหน่ายอาหารที่สะอาด ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร และสุขลักษณะตลอดจนเป็นการพัฒนาผู้ประกอบการและร้านค้า เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเมืองตะลุบัน เป็นการเฝ้าระวังและประกันสุขภาพของอาหาร สร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่สะอาด ปลอดภัย และเป็นศูนย์รวมการจำหน่ายสินค้าอาหารในเดือนรอมฎอนทุกๆปีโดยใช้พื้นที่หน้าตลาดสดเทศบาลเมืองตะลุบัน จำหน่ายอาหารและสินค้าให้กับพี่น้องชาวมุสลิมและประชาชนทั่วไปที่สัญจร แต่ละวันเป็นจำนวนมาก การจำหน่ายสินค้าและสถานที่จำหน่ายสินค้ามีความสะอาดและถูกหลักสุขาภิบาลนั้นเป็นหัวใจสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากอาหารที่บริโภค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาความปลอดภัยด้านอาหารจึง ได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ”รอมฏอนปลอดโรค ร้านอาหารปลอดภัย ประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน และตัวแทนผู้บริโภค (อสม.ชุมชนละ 2 คน)ในพื้นที่เทศบาลเมืองตะลุบัน มีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มที่ผลิต และความปลอดภัยของผู้บริโภค2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงการเกิดโรค และเป็นการฟื้นฟู พัฒนาผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอนให้ได้มาตรฐานเกณฑ์งานสุขาภิบาลอาหาร Clean Food Good Taste

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ผู้ประกอบการค้าอาหารในเดือนรอมฎอน, ตัวแทนผู้บริโภคในเขตเทศบาลฯ(อสม.) เพื่อให้มีความรู้ ตระหนักถึงความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มที่ผลิต และความปลอดภัยด้านสุขภาพของผู้บริโภค จำนวน 94 คน 2. กิจกรรมมอบผ้ากันเปื้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 94
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในเขตเทศบาลได้รับประทานอาหารที่สะอาดถูกสุขลักษณะสำหรับร้านค้า ที่ผ่านการอบรม
  2. เพื่อลดความเสี่ยงของผู้บริโภคอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด
  3. ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน มีการปรับปรุงและพัฒนาร้านค้าตนเองและประเมินผ่าน Clean Food Good Taste
  4. เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน มีความรู้ ความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคและตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน และตัวแทนผู้บริโภค (อสม.ชุมชนละ 2 คน)ในพื้นที่เทศบาลเมืองตะลุบัน มีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มที่ผลิต และความปลอดภัยของผู้บริโภค2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงการเกิดโรค และเป็นการฟื้นฟู พัฒนาผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอนให้ได้มาตรฐานเกณฑ์งานสุขาภิบาลอาหาร Clean Food Good Taste
ตัวชี้วัด : - ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน จำนวน 54 คน และตัวแทนผู้บริโภค (อสม.ชุมชนละ 2 คน) จำนวน 40 คน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มที่ผลิต และความปลอดภัยของผู้บริโภค - ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน จำนวน 54 คน และตัวแทนผู้บริโภค (อสม.ชุมชนละ 2 คน) จำนวน 40 คน สามารถเลือกซื้ออาหารและการฟื้นฟู พัฒนาผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอนให้ได้มาตรฐานเกณฑ์งานสุขาภิบาลอาหาร Clean Food Good Taste เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคจากสารตกค้างในอาหารที่เลือกซื้อ และเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 94
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 94
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอน  และตัวแทนผู้บริโภค (อสม.ชุมชนละ 2 คน)ในพื้นที่เทศบาลเมืองตะลุบัน มีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มที่ผลิต และความปลอดภัยของผู้บริโภค2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงการเกิดโรค และเป็นการฟื้นฟู พัฒนาผู้ประกอบการค้าอาหารเดือนรอมฎอนให้ได้มาตรฐานเกณฑ์งานสุขาภิบาลอาหาร Clean Food Good Taste

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ผู้ประกอบการค้าอาหารในเดือนรอมฎอน, ตัวแทนผู้บริโภคในเขตเทศบาลฯ(อสม.) เพื่อให้มีความรู้ ตระหนักถึงความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่มที่ผลิต และความปลอดภัยด้านสุขภาพของผู้บริโภค จำนวน 94 คน 2. กิจกรรมมอบผ้ากันเปื้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ รอมฎอนปลอดโรคร้านอาหารปลอดภัยประชาชนสุขกาย ทำบุญสุขใจ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7010-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุสนาณี ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด