กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า ”

ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสมาน บิลละเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5287-2-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5287-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,244.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ
  ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด หาดเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดแล้ว ย่อมนำความเสียหายมายังตัวเยาวชน ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติอย่างมาก ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จึงทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการณรงค์ในกลุ่มเยาวชนเป็นเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่แวะกับยาเสพติด รวมทั้งแสดงพลังอย่างถูกต้องเป็นเสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิตด้วยการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา ในชุมชนและสถานประกอบการ ประกอบยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์เพื่อปลูกจิตสำนึก และสร้างกระแสที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้แนวคิดการสร้างกระแส เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด โดยผ่านสื่อและการจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างสรรค์ต่างๆ เพื่ให้วัยรุ่นและเยาวชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง กิจกรรมในยุทธศาสตร์นี้ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ การจัดกิจกรรมรณรงค์ในหลากหลายรูปแบบ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชน ประกอบด้วย 2 กิจกรรม คือ
  กิจกรรมที่ 1 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชน ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาและผลิตเทคโนโลยีการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชน การอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการจัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชน การใช้เทคโนโลยีให้แก่กลุ่มแกนนำเยาวชน และการสนับสนุนให้แกนนำเยาวชนที่ผ่านการอบรมดำเนินการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางจิตให้เยาวชนในชุมชน
  กิจกรรมที่ 2 โครงการพัฒนาและจัดตั้งศูนย์เพื่อใจวัยรุ่น TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER กิจกรรมได้แก่ การจัดตั้งศูนย์เพื่อใจวัยรุ่นในชุมชเมือง ชุมชนชนบท สถานศึกษาและสถานประกอบการ ภายใต้แนวคิดปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ไขปัญหา พัฒนา EQ โดยจัดให้มีบริการให้คำปรึกษา บริการฝึกแก้ปัญหาพัฒนา EQ ทั้งด้วยตนเอง กิจกรรมกลุ่มและบริการกิจกรรมเสริมทักษะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุขด้วยการเสริมสร้างสุขภาพให้แก่วัยรุ่นและเยาวชนด้วยกิจกรรมด้านดนตรี กีฬา ศิลปะโดยศิลปินดารา นักกีฬาที่มีชื่อเสียง และวิทยากรผู้เชี่ยวชาญอื่นๆ ในศูนย์เพื่อใจวัยรุ่น
  ยุทธศาสตร์ ที่ 3 การสร้่งและพัฒนาเครือข่าย เน้นการสร้างและพัฒนาเครือข่ายสมาชิกเพื่อให้การร่วมมือร่วมใจป้องกันปัญหายาเสพติดมีความต่อเนื่องและยั่งยืน ในรูปแบบของการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐและเอกชนในระดับประเทศและระดับพื้นที่
  ผลผลิตจาการดำเนินตามยุทธศาสตร์ ที่สำคัญผลผลิตหนึ่งคือ การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE เรียนรู้ระหว่างชมรมทั้งภายในและภายนอกจังหวัด ย่อมเป็นกิจกรรมสำคัญที่จะเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ให้มีโอกาสสร้างกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้มีมากขึ้น อันจะเป็นการพัฒนาแนวคิดการพัฒนาให้เยาวชน ให้เปิดมุมมองที่กว้างออกไปจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับจังหวัด ภูมิภาคและระดับชาติ ต่อไป
  โรงเรียนบ้านปลักหว้าได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้แก่นักเรียน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ขึ้น ตามยุทธศาสตร์ของโครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ในระดับโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  2. 2. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด
  3. 3. เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า
  2. การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมภูมิคุ้มกันภัยยาเสพติด TO BE NUMBER ONE
  3. เสริมสร้างทักษะอาชีพ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนได้รับโอกาสพัฒนาเพื่อเสริมสร้างทักษะเชิงบวกในการป้องกันสารเสพติด
  2. นักเรียนได้เพิ่มพูนทักษะ การฝึกทำงานเป็นทีม การแก้ไขปัญหา
  3. นักเรียนโรงเรียนบ้านปลักหว้า มีความตระหนักถึงโทษของยาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านท่าแพ พบว่า นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองและผู้อื่นให้ปลอดภัยจากยาเสพติด การรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นักเรียนได้ฝึกทักษะในการปลูกผัก เลี้ยงปลา ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นอาหารและสร้างรายได้ให้กับตนเอง รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น รู้จักการเป็นผู้นำ ผู้ตาม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการและเหตุผลของการดำเนินงานตามโครงการที่กำหนดไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

 

2 2. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยฃน์และห่างไกลยาเสพติด

 

3 3. เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโทษของยาเสพติด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) 2. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด (3) 3. เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า (2) การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมภูมิคุ้มกันภัยยาเสพติด TO BE NUMBER ONE (3) เสริมสร้างทักษะอาชีพ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE โรงเรียนบ้านปลักหว้า จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5287-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมาน บิลละเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด