กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านตลิ่งชัน
รหัสโครงการ 66-L3346-5-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน โดย นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มีนาคม 2566 - 15 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 18,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 18,250.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 18,250.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลายลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวนขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิดสำหรับพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันการระบาดของไข้เลือดออก จากข้อมูล 5 ปี ที่ผ่านมามีผู้ป่วยเป็นไข้เป็นไข้เลือดดังนี้คือ ปี พ.ศ.2561 มีผู้ป่วย 41 รายคิดเป็นอัตราป่วย 750.64 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.2562 มีผู้ป่วย 21 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 384.47 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ.2563 มีผู้ป่วยทั้งหมด 13 รายคิดเป็นอัตราป่วย 238.09 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 2564มีผู้ป่วย จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย33.00 ต่อแสนประชากรส่วนปี พ.ศ.2565ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ซึ่งจะเห็นว่าแต่ละปีมีอัตราป่วยลดลง แต่ยังต้องมีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รวมถึงการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้านและนอกบ้าน การสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ และเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำ (Container Index=0) และบ้านที่พบลูกน้ ายุงลาย (House Index=0)

40.00 0.00
2 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. 1 ข. 3 ร. และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและ นอกบ้านให้เหมาะสม
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการจัดการขยะและการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. 1 ข. 3 ร. และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและ นอกบ้านให้เหมาะสม 2.ไม่เกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
40.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,250.00 0 0.00
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการและเกณฑ์การประเมินครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 0 500.00 -
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและการป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. 1 ข. 3 ร. และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและนอกบ้านให้เหมาะสม 0 6,100.00 -
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ประกวด“บ้านนี้สิ่งแวดล้อม ดี ไม่มียุง” 0 750.00 -
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ประชุมคณะทำงานเพื่อประเมินผลการเข้าร่วมโครงการ 0 500.00 -
15 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ควบคุมโรคไข้เลือดออก 0 10,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้และให้ความสำคัญต่อการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในบ้านของตนเอง
2.ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 2566 00:00 น.