กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
พระสมุห์ธนภัทร ธนภทโท

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3346-2-02 เลขที่ข้อตกลง 003/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3346-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,082.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนชายที่เข้ามาบรรพชาเป็นสามเณรในพระพุทธศาสนา จัดเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นศาสนทายาทของพระพุทธศาสนา โดยผ่านกระบวนการฝึกฝนอบรมตามหลักพระธรรมวินัย ได้แก่ ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ เพื่อเสริมสร้างทักษะและพัฒนาตนทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ปัญญาดังนั้น สามเณร คือ เหล่ากอของสมณะ เมื่อได้บรรพชาเป็นสามเณรแล้วได้ศึกษาพระปริยัติธรรม มีความรู้แตกฉานในภาษาพระไตรปิฎก คือ ภาษาบาลีหรือมคธ เมื่อมีความรู้แตกฉานในพระธรรมวินัยแล้ว ถ้าหากดำรงสมณเพศต่อไป จะได้เป็นที่พึ่งและบริหารงานพระพุทธศาสนาให้มั่นคงสถาพรหรือลาสิกขาไปแล้วก็จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติสืบไปในปัจจุบันยังเผชิญกับความท้าทายต่อปัญหายาเสพติด ที่ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทยและเป็นปัญหาที่สร้างความกังวลให้กับทุกคน เพราะไม่เพียงแต่ประเทศจะต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นทรัพยากรอันมีค่าที่สุดของประเทศไปแล้ว ปัญหายาเสพติดยังนำมาซึ่งปัญหาอื่นอีกมากมาย ทั้งในแง่สังคมอย่างเช่นการก่ออาชญากรรม ปล้น จี้ ฯลฯ เกิดปัญหาส่วนบุคคลในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต เช่น ปัญหาทางจิต ปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ซึ่งรัฐบาลเองต้องสูญเสียเงินในการบำบัดอาการติดยา รักษาอาการติดยา ทั้งการเลิกยาไอซ์ เลิกยาบ้า เลิกกัญชา ฯลฯ สิ่งที่น่าวิตกกังวลคือวัยรุ่นที่ใช้สารเสพติดนั้น มีแนวโน้มที่จะอายุน้อยลงเรื่อย ๆ และมีการใช้สารเสพติดเพิ่มขึ้นในกลุ่มอายุ 12–19 ปีด้วยเหตุนี้ ทางรัฐบาลจึงได้กำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ในกลยุทธ์ที่ 2 คือ การผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพระดับโลก ซึ่งกลยุทธ์ย่อยที่ 2.3 ได้กำหนดไว้ว่า พัฒนาบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพรูปแบบใหม่ที่นำไปสู่การสร้างสังคมที่มีสุขภาวะ ได้แก่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตอย่างเหมาะสมโดยการใช้อาหารบำบัดและการบำบัดทางจิตด้วยการทำสมาธิ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ 1) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม โดยการสร้างความเข้มแข็งในสถาบันทางศาสนา พร้อมทั้งปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 2) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ด้วยการปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 และ 3) การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญา และสังคม โดยการส่งเสริมให้ชุมชน วัด และส่วนราชการเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะที่ดีในทุกพื้นที่ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดวัดโดนคลาน ตั้งอยู่ในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านพร้าว โดยมีพระครูวุฒิสาครธรรม เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งศาสน แห่งนี้อยู่คู่กับชุมชนมาอย่างยาวนาน เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของคนในชุมชนรอบบริเวณศาสนสถาน อีกทั้งยังเป็นสถานที่ในการทำกิจกรรมทางศาสนาที่สำคัญมาอย่างต่อเนื่อง โดยเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ โรงเรียนบ้านบ่อทราย โรงเรียนบ้านตลิ่งชัน โรงเรียนป่าพะยอมพิทยาคม วิทยาลัยเทคนิคป่าพะยอม มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ่อทราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่อทราย ดังนั้น กิจกรรมที่แสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ คือ กิจกรรมหิ้วปิ่นโตไปวัดพัฒนาคุณธรรม กิจกรรมปิ่นโตเพื่อสุขภาพ กิจกรรมการอบรมคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน โดยจะทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างเด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง เป็นการเสริมสร้างสุขภาวะทางกายและจิตใจ แต่ยังขาดภูมิคุ้มกันทางสังคมและปัญญา อันเป็นเรื่องสำคัญ เนื่องจากดัชนีชี้วัดของเด็กและเยาวชนที่อยู่ในระบบการศึกษา พบว่า มีกลุ่มพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ซึ่งมีมากที่สุดไม่ต่ำกว่า ๓๐ คน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมัธยมศึกษา ยังไม่นับระดับประถมศึกษาและเด็กปฐมวัยที่มีสมาธิสั้นและพฤติกรรมก้าวร้าว สาเหตุมาจากขาดการปลูกฝังการปฏิบัติที่ถูกต้องจากผู้ปกครอง ขาดความรักความอบอุ่นในครอบครัว เนื่องจากส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับปู่ย่าตายายหรือญาติส่วนพ่อแม่นั้นไปทำงานต่างจังหวัด และการใช้สื่อสังคมออนไลน์โดยขาดการควบคุมจากผู้ปกครอง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในระดับพระสงฆ์ ครู หมอ พ่อแม่ และครอบครัวในท้องถิ่น มีความเป็นเอกภาพแต่ขาดการนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจากหลักการและเหตุผลดังกล่าว วัดโดนคลาน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดโครงการบรรพชาสามเณรเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในช่วงปิดภาคเรียน ด้วยการศึกษาอบรมและฝึกฝนทักษะชีวิตตามหลักวิถีทางแห่งพระพุทธศาสนาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ พร้อมทั้งสามารถนำหลักธรรมไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและช่วยส่งเสริมให้เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็นศิษย์ที่ดีของครูอาจารย์ เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติสืบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาความเป็นพลเมืองและเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตของตนเองอย่างยั่งยืนตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนา
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ในระหว่างปิดภาคเรียน โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  3. เพื่อเป็นการสืบทอด ประเพณีการบรรพชาอุปสมบทให้คงอยู่คู่พระพุทธศาสนาตลอดไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ Mindfulness based Active Learning

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ได้พัฒนาความเป็นพลเมืองและเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตของตนเองอย่างยั่งยืนตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนา
  2. ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในระหว่างปิดภาคเรียน โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  3. ได้มีส่วนร่วมในการสืบทอดและอนุรักษ์ประเพณีการบรรพชาอุปสมบทให้คงอยู่คู่พระพุทธศาสนา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาความเป็นพลเมืองและเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตของตนเองอย่างยั่งยืนตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนา
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายได้พัฒนาความเป็นพลเมืองและเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตของตนเองอย่างยั่งยืนตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนา
70.00 70.00 70.00

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ในระหว่างปิดภาคเรียน โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในระหว่างปิดภาคเรียน โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
70.00 70.00 70.00

 

3 เพื่อเป็นการสืบทอด ประเพณีการบรรพชาอุปสมบทให้คงอยู่คู่พระพุทธศาสนาตลอดไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีการบรรพชาอุปสมบทให้คงอยู่คู่พระพุทธศาสนาตลอดไป
70.00 70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 20
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาความเป็นพลเมืองและเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตของตนเองอย่างยั่งยืนตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนา (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ในระหว่างปิดภาคเรียน โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (3) เพื่อเป็นการสืบทอด ประเพณีการบรรพชาอุปสมบทให้คงอยู่คู่พระพุทธศาสนาตลอดไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ Mindfulness based Active Learning

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตสู่ความเป็นพลเมืองวิถีพุทธอย่างยั่งยืน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3346-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( พระสมุห์ธนภัทร ธนภทโท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด