กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน


“ โครงการ “ภูมิคุ้มกันดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ปะจำปี ๒๕๖๖” ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังโอ๊ะ พื้นที่หมู่ 1,2,3,4 และ 5 ตำบลจะแหน

หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ อาจหาญ

ชื่อโครงการ โครงการ “ภูมิคุ้มกันดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ปะจำปี ๒๕๖๖”

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังโอ๊ะ พื้นที่หมู่ 1,2,3,4 และ 5 ตำบลจะแหน จังหวัด

รหัสโครงการ 02/66 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “ภูมิคุ้มกันดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ปะจำปี ๒๕๖๖” จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังโอ๊ะ พื้นที่หมู่ 1,2,3,4 และ 5 ตำบลจะแหน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “ภูมิคุ้มกันดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ปะจำปี ๒๕๖๖”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “ภูมิคุ้มกันดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ปะจำปี ๒๕๖๖” " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังโอ๊ะ พื้นที่หมู่ 1,2,3,4 และ 5 ตำบลจะแหน รหัสโครงการ 02/66 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ดังนั้น ในหลายประเทศจึงล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา เด็กในวัยนี้จะต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมมีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต การดูแลเด็กแรกเกิด – 5 ปี จะต้องดูองค์รวมทั้ง4 ด้าน ด้านแรกคือจะต้องได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่เป็นวัคซีนขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีความสำคัญต่อการป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในอนาคต แน่นอนที่สุดการป้องกันย่อมดีกว่าการรักษาในภายหลังของการเกิดโรคไม่ว่าจะด้วยทฤษฎีทางการแพทย์หรือหลักการของศาสนา แทนที่จะให้เกิดค่อยคิดหาวิธี หายา หาทางรักษาในภายหลังอาจจะเป็นสิ่งที่สายเกินไปหากเกิดโรคแล้วไม่สามารถรักษาได้ สร้างความเจ็บปวด ทรมาน รำคาญใจและเสียเงินมากมายซึ่งไม่คุ้มค่าต่อผลเสียที่อาจเกิดขึ้นในภายหลัง หากมิได้รับภูมิคุ้มกันแก่ร่างกายตั้งแต่เนิ่นๆ ด้านที่สองเฝ้าระวังโภชนาการ ด้านที่สามพัฒนาการสมวัย และด้านสุดท้ายสุขภาพช่องปากดีซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องได้รับการดูแลและแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะบกพร่องหรือผิดปกติ ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังโอ๊ะ มีประชากรเด็กอายุแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2566 จำนวน 623 คน จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ผ่านมา ปีงบประมาณ 2565 พบว่าจำนวนผู้มารับบริการคลินิกวัคซีนเด็กดีลดลง ทำให้ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนช่วงอายุ 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.35 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนช่วงอายุ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.86 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนช่วงอายุ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.60 และความครอบคลุมการได้รับวัคซีนช่วงอายุ 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 37.50ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อป้องกันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๒.๑ เพื่อให้เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ๒.๒ เพื่อสร้างแกนนำด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัดความสำเร็จ มีแกนนำด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี จำนวน 1 กลุ่ม ๒.๓ เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งและอบรมแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี
  2. “แก้วตาดวงใจ ต้องได้รับสิ่งดีๆ”
  3. “เยี่ยมบ้านเสริมพลัง”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95หรือความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละช่วงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 2.มีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี จำนวน 1 กลุ่ม 3.ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑ เพื่อให้เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ๒.๒ เพื่อสร้างแกนนำด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัดความสำเร็จ มีแกนนำด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี จำนวน 1 กลุ่ม ๒.๓ เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑  เพื่อให้เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กอายุครบ 1 ปี, 2 ปี , 3 ปีและ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ๒.๒  เพื่อสร้างแกนนำด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัดความสำเร็จ มีแกนนำด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี จำนวน 1 กลุ่ม ๒.๓  เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งและอบรมแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญด้านการดูแลเด็ก 0-5 ปี (2) “แก้วตาดวงใจ ต้องได้รับสิ่งดีๆ” (3) “เยี่ยมบ้านเสริมพลัง”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “ภูมิคุ้มกันดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ปะจำปี ๒๕๖๖” จังหวัด

รหัสโครงการ 02/66

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประเสริฐ อาจหาญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด