กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ จันทร์ทิน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3306-3-24 เลขที่ข้อตกลง 003/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3306-3-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,176.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันผักที่นำมาใช้ปรุงอาหารให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง เป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนสารเคมี โดยปกติก่อนการปรุง แม่ครัวก็จะล้างทำความสะอาดอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถชะล้างสารตกค้างออกได้ทั้งหมด ส่งผลให้เด็กในวัยก่อนเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วงทั้งนี้เนื่องจากเด็กบริโภคพืชผักและผลไม้ที่ไม่ปลอดภัยทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาวหากเด็กรับประทานผักมีสารเคมีปนเปื้อน     แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการรณรงค์ส่งเสริมในเรื่องการลดละเลี่ยงเลิกการใช้สารพิษในการเกษตรแต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงชินกับรูปแบบเดิมโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยทางด้านสุขภาพของผู้บริโภคการปลูกพืช ผักสวนครัวที่ไร้สารพิษตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำให้ผู้บริโภคมีสุขภาพร่างกายที่ดีสมาชิกในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันใช้เป็นอาหารในครัวเรือนลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนพึ่งพาตนเองและสามารถดำเนินชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ลดความเสี่ยงจากสารเคมีสะสมในร่างกาย เพื่อให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จากการได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ในปริมาณที่เพียงพอ   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง สังกัดกองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองเฉลิม มีเด็กใน ศพด.จำนวน ๓๕ คน มาจาก ๓๕ ครัวเรือน ครัวเรือนเป็นจุดเริ่มต้นของภาวะโภชนาการที่ดี นำมาสู่สุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัยจึงจัดทำโครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษ และศูนย์พัฒนาเด็กจะเป็นผู้กระตุ้นเตือน สร้างความตระหนักให้ครัวเรือนเห็นถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารปลอดภัย เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง ในการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กและผู้ปกครองได้ตระหนักถึงโทษของการบริโภคผักปนเปื้อนสารเคมีทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีฝึกอาชีพและความรับผิดชอบของเด็ก และดำเนินรอยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง
  2. 2 เด็กได้ออกกำลังกาย ได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่
  3. 3 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ได้มีการคัดแยกขยะ นำเศษผัก เศษอาหารมาทำปุ๋ยหมักลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรั้วกินได้
  2. กิจกรรมรั้วกินได้
  3. กิจกรรมทำปุ๋ยหมัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการ และผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับครัวเรือน
  2. เด็กเล็กผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรั้วกินได้

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑ ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
๒ จัดทำโครงการและเสนอพิจารณาอนุมัติ
๓ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ/ประสานการดำเนินงาน
  ๔ จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการ ดังนี้ - กิจกรรมปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้
- กิจกรรม การทำปุ๋ยหมัก
  ๕ สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการ และผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับครัวเรือน
  2. เด็กเล็กผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

 

0 0

2. กิจกรรมทำปุ๋ยหมัก

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑ ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
๒ จัดทำโครงการและเสนอพิจารณาอนุมัติ
๓ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ/ประสานการดำเนินงาน
  ๔ จัดกิจกรรมที่จะดำเนินการตามโครงการ ดังนี้ - กิจกรรมปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้
- กิจกรรม การทำปุ๋ยหมัก
  ๕ สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการ และผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับครัวเรือน
  2. เด็กเล็กผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของเด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง

 

2 2 เด็กได้ออกกำลังกาย ได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 100 ของเด็กได้ออกกำลังกาย ด้วยการพรวนดิน ปลูกผัก รดน้ำผัก พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่

 

3 3 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ได้มีการคัดแยกขยะ นำเศษผัก เศษอาหารมาทำปุ๋ยหมักลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ตัวชี้วัด : 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีถังขยะเปียก และมีการทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง (2) 2 เด็กได้ออกกำลังกาย ได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ (3) 3  เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ได้มีการคัดแยกขยะ นำเศษผัก เศษอาหารมาทำปุ๋ยหมักลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรั้วกินได้ (2) กิจกรรมรั้วกินได้ (3) กิจกรรมทำปุ๋ยหมัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการกินผักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาแม็ง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3306-3-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรทิพย์ จันทร์ทิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด