กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ”

ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายบัญญัติ หัสมา

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5287-1-21 เลขที่ข้อตกลง 24/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5287-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันสถิติพบว่าอัตราการเกิดของเด็กไทยในปัจจุบันประมาณ 800,000 คน ต่อปี มีอัตราการเกิดของเด็กคลอดก่อนกำหนดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คิดเป็นค่าเฉลี่่ยร้อยละ 8 - 10 ต่อปี ส่งผลให้อวัยวะของทารกพัฒนาได้ไม่เต็มที่ด้วยเหตุนี้ทารกคลอดก่อนกำหนดจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากแพทย์ และพยาบาลที่มีความชำนาญเฉพาะทาง เพื่อช่วยให้ทารกรอดชีวิต และมีความพิการหลงเหลือน้อยที่สุดสาเหตุการคลอดก่อนกำหนดมีได้หลายปัจจัย เช่น ปัจจัยจากแม่ อาจมาจากการทำงานหนัก พักผ่อนไม่เพียงพอ มีความเครียด มีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หรือภาวะติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ ติดเชื้อในช่องคลอดทางเดินปัสสาวะ หรือแม่มีภาวะน้ำเดินก็จะเป็นการกระตุ้นทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดได้ ปัจจัยของลูก เด็กในครรภ์มีความผิดปกติตั้งแต่แรกเกิด เช่น โรคทางพันธุกรรม มีภาวะรกเสื่อม เด็กเติบโตไม่ได้จึงกระตุ้นให้มีการคลอด นอกจากนี้ยังมีทารกแฝดบางรายที่อาจมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนก่อนกำหนดได้เช่นกัน ปัญหาการคลอดก่อนกำหนดของทารกมีมากมาย เช่น มีน้ำหนักตัวน้อย การทำงานของปอดไม่สมบูรณ์ทำให้มีปัญหาการหายใจที่ผิดปกติตามมา มีภาวะเลือดออกในสมอง ส่งผลต่อระบบสมองที่อาจมีความพิการเกิดการติดเชื้อตามมาได้ง่าย ภาวะลำไส้อักเสบ ภาวะหายใจลำบากจากการขาดสารลดแรงตึงผิวเป้นปัญหาของระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด ยิ่งอายุครรภ์น้อยโอกาสเกิดยิ่งมากขึ้น สารลดแรงตึงผิว เป็นพยุงทำให้ถุงลมในปอดไม่แฟบเมื่อหายใจออก และเกิดการแลกเปลี่ยนก็าซ แต่สำหรับทารกที่คลอดก่อนกำหนด จะยังไม่สามารถสร้างสารลดแรงตึงผิวได้เพียงพอ จึงทำให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้ เกิดการขาดออกซิเจน และแสดงอาการหายใจลำบาก โดยเด็กจะหายใจเร็ว อกบุ๋ม จมูกบาน ตัวเขียว และว่งผลต่อระบบอื่นในร่างกายตามมาได้
  จากสถานการณ์ดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าแพ เพื่อที่จะสามารุถป้องกันและดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ไม่ให้มีความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตังครรภ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของภาวะการคลอดก่อนกำหนด
  2. 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตนได้เมื่อมีความเสี่ยงต่อภาวะการคลอดก่อนกำหนด
  3. 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดก่อนกำหนดสามารถลี้ยงดูบุตรได้ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสำรวจ และจัดทำทะเบียนรายชื่อหญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าแพ
  2. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ ในตำบลท่าแพ
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าแพ
  4. กิจกรรมติดตามหญิงตั้งครรภ์หลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญองตั้งครรภ์มีความรู้ในการป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากภาวะคลอดก่อนกำหนด
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความพร้อมใรการรับมือกับความเสี่ยงจากการคลอดก่อนกำหนด
  3. หญิงตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตนได้เมื่อต้องคลอดก่อนกำหนด
  4. หญิงตั้งครรภ์สามารถเลี้ยงดูบุตรที่เกิดจากการคลอดก่อนกำหนดได้ถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตังครรภ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของภาวะการคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุของภาวะการคลอดก่อนกำหนด
90.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตนได้เมื่อมีความเสี่ยงต่อภาวะการคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : หยิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 สามารถปฏิบัติตนได้เมื่อมีความเสี่ยงต่อภาวะการคลอดก่อนกำหนด
90.00

 

3 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดก่อนกำหนดสามารถลี้ยงดูบุตรได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 สามารถเลี้ยงดูบุตรที่คลอดก่อนกำหนดได้
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตังครรภ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของภาวะการคลอดก่อนกำหนด (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตนได้เมื่อมีความเสี่ยงต่อภาวะการคลอดก่อนกำหนด (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดก่อนกำหนดสามารถลี้ยงดูบุตรได้ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจ และจัดทำทะเบียนรายชื่อหญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าแพ (2) กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ ในตำบลท่าแพ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ในตำบลท่าแพ (4) กิจกรรมติดตามหญิงตั้งครรภ์หลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5287-1-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบัญญัติ หัสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด