กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายมะหมูด หล้าหลั่น ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อน




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1467-01-01 เลขที่ข้อตกลง 03/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1467-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 170,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปีและพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 - 14 ปี รองลงมาคือเด็กก่อนวัยเรียน ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อนแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด 1 ราย คิดเป็น 10.80 ต่อแสนประชากร แต่ยังไม่มีผู้เสียชีวิตในเขตพื้นที่รับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอัตราป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ถ้านำอัตราป่วยที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดมาเปรียบเทียบกับอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อนถือว่าโรคไข้เลือดออกยังไม่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุข แต่จากผลงานวิจัย ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรีพบว่า การพยากรณ์การเกิดโรคด้วยวิธีทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงปริมาณ พยากรณ์ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเขตภาคตะวันออก ผลการศึกษาพบว่า จะเป็นปีรอบวัฏจักรที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกัน ภายใต้ภูมิอากาศที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนักรูปแบบการระบาดของโรคไข้เลือดออกเป็นสลับการระบาดสูงต่ำเป็นลักษณะปีเว้นปี ดังนั้นในเขตตำบลบ่อน้ำร้อนในปีที่ผ่านมามีการระบาดของโรคไข้เลือดออกน้อยมากจนมองแล้วคิดว่าไม่ได้เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุข แต่ถ้านำผลการวิจัยมาวิเคราะห์และเปรียบเทียบเป็นไปได้ว่าปีที่แล้วไม่มีการระบาดของโรคแต่ปีอาจจะมีการระบาดของโรคที่รุนแรงก็เป็นได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อน ขอดำเนินการโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณ 2565 การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องแบบบูรณาการ ในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรครณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อนตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้นเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคนและเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประซาชน ตื่นตัวและตระหนักในการดูแลสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้ถูกหลักสุขาภิบาล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในทุกกลุ่มอายุ 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงพาหนะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข 3.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคน โดยเฉพาะเด็กอายุ 5-14 ปี 4.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นตัวและตระหนักในการดูแลสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้ถูกหลักสุขาภิบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น 2.ประชาชนในชุมชน ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้านการควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อการควบคุมและป้องกันโรค 3.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในทุกกลุ่มอายุ 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงพาหนะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข 3.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคน โดยเฉพาะเด็กอายุ 5-14 ปี 4.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นตัวและตระหนักในการดูแลสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้ถูกหลักสุขาภิบาล
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น 2.ประชาชนในชุมชน ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกด้านการควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อการควบคุมและป้องกันโรค 3.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในทุกกลุ่มอายุ 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงพาหนะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข 3.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคน โดยเฉพาะเด็กอายุ 5-14 ปี 4.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นตัวและตระหนักในการดูแลสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้ถูกหลักสุขาภิบาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1467-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะหมูด หล้าหลั่น ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อน้ำร้อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด