กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการแกนนำเยาวชนยุคดิจิทัล รวมใจสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.ปาริชาติ ธนากุลรังษี ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการแกนนำเยาวชนยุคดิจิทัล รวมใจสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-05 เลขที่ข้อตกลง 17/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแกนนำเยาวชนยุคดิจิทัล รวมใจสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำเยาวชนยุคดิจิทัล รวมใจสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแกนนำเยาวชนยุคดิจิทัล รวมใจสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 209,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติ ตามที่รัฐบาลมีนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี กลยุทธ์หนึ่งในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน คือการเริ่มต้นการพัฒนาจาก “คน” ซึ่งถือเป็นการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญ การพัฒนาแนวคิดด้านสุขภาพอนามัย ในกลุ่มนักเรียนและเยาวชน ที่อาศัยความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ระหว่างนักเรียนกับครอบครัว ชุมชน สถาบัน ศาสนา โรงเรียน และหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ จึงเป็นการเริ่มต้นที่ดี ในการสร้างสุขภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน รวมถึงแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ในกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งจากสถิติ ในปี ๒๕63 พบว่า อัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นเพศหญิงอายุ ๑5-๑๙ ปีมีแนวโน้มลดลง ของประเทศไทย พบ 28.7 คนต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน (สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์,๒๕63) และอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ ของหญิงอายุ ๑5-๑๙ ปี พบ 7.8 ต่อประชากร 1000คน ของจังหวัดสงขลาปี 2562-2565 พบ 17.67 16.89 15.78 และ 17.91 คนต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน (สำนักศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา,2563) ในส่วนของอำเภอเมือง พบอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น มีอัตราสูงถึงร้อยละ 19.44, 16.50 18.64, และ ๑5.69 ตามลำดับ (ปีงบประมาณ ๒๕62 - ๒๕65) ซึ่งมีแนวโน้มลดลงทุกปี ดังนั้น การสร้างความรอบรู้การใฝ่รู้และสร้างความตระหนักแก่เด็กวัยเรียนและเยาวชนแกนนำ ในเรื่องการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยในการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง เกิดความตระหนักและร่วมมือกันของทุกภาคส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเช่น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การควบคุมเฝ้าระวังโรคติดต่อ ซึ่งจะทำให้ทุกคนในโรงเรียนรวมทั้งสมาชิกในชุมชนใกล้เคียงได้รับความรู้ความเข้าใจ เป็นการปลูกฝังทัศนคติและสร้างเสริมทักษะที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและยั่งยืนต่อไป
ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขร่วมกับ PCU ในเขตเมืองทั้ง5แห่งและศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาลนครสงขลาทั้ง2แห่ง ซึ่งรับผิดชอบทั้งหมด ๑8 โรงเรียน มีนักเรียนเรียนรวมทั้งสิ้น ๒5,482 คน เป็นนักเรียนระดับอนุบาล 3,946 คน ระดับประถม ๑๐,730 คน และระดับมัธยม ๑๐,788 คน ตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างแกนนำด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มเยาวชนและนักเรียน ด้วยการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้นำนักเรียนให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแล และติดตามพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน ตลอดจนดำเนินการจัดทำมุมสุขภาพ สื่อสารความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องผ่านสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ พัฒนาคลินิกวัยใส ในโรงเรียน เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการเป็นแกนนำจัดกิจกรรมต่างๆในโรงเรียน เช่น กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมเฝ้าระวังสุขภาพพฤติกรรมความเสี่ยง กิจกรรมแก้ปัญหาสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาพ กิจกรรมส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วม จัดคลินิกให้คำปรึกษา ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เพื่อให้นักเรียน ครอบครัว และบุคลากรในชุมชนเป็นบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตามวัย และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับประถม และระดับมัธยมศึกษา
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนแกนนำ มีความรู้ทักษะด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้
  3. 3. เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  4. 4. เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการรายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
  2. การจัดอบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  3. การจัดอบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน
  4. ติดตามการดำเนินงาน “คลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น”
  5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  7. ค่าอาหารกลางวัน
  8. ค่าตอบแทนวิทยากร
  9. ค่าวัสดุ - อุปกรณ์ในการจัดอบรม
  10. ค่าเช่าสถานที่อบรมวัน
  11. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  12. ค่าอาหารกลางวัน
  13. ค่าตอบแทนวิทยากร
  14. ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดอบรม
  15. ค่าเช่าห้องประชุม
  16. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  17. ค่าจัดทำรูปเล่ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 450
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

โรงเรียนมีการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับ ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและมีพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 13.00 -16.. น. ณ ห้องประชุมพระราชวชิรโมลี โรงเรียนแจ้งวิทยา มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 2 รุ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 22-23 มิถุนายน 2566 ณ ห้องประชุมโรงเรียนกลับเพชรศึกษา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 87 คน ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมมีระดับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.80 และรึ่น ที่ 2 จัดวันที่ 6-7 กค.2566 ณ อาคารหอประชุมชมรม อสม.เทศบาลนครสงขลา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 131 คน ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมมีระดับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 95.94 กิจกรรมที่ 4 ติดตามการดำเนินงาน คลีนิค เพื่อนใจวัยรุ่น ณ โรงเรียนแจ้งวิทยา โรงเรียนเทศบาล 4 โรงเรียนเทศบาล5 โรงเรียนวชิรานุกูล โรงเรียนวรนาเฉลิม และโรงเรียนชัยมงคลวิทย์ ในวันที่ 14 19 และ วันที่ 20 กันยายน 2566 สรุปผลการติดตามการดำเนินงาน คลินิค เพื่อนใจวัยรุ่น 1.โรงเรียนแจ้งวิทยา จุดเด่น -มีแกนนำเยาวชนที่เข้มแข็ง -มีนวัตกรรม สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บเพจ -มีความพร้อมด้านสถานที่ จุดด้อย -แกนนำเยาวชนใกล้สำเร็จการศึกษา 2.โรงเรียนเทศบาล 4
จุดเด่น -การมีส่วนร่วมของแกนนำ แกนนำเยาวชนมีความตั้งใจ จุดด้อย -สถานที่ไม่พร้อมในการให้บริการ/ผู้บริการไไม่ทราบนโยบาย 3.โรงเรียนเทศบาล 5
จุดเด่น -มีความพร้อมด้านสถานที่ -มีนวัตกรรม มีสื่อให้ความรู้ที่หลากหลาย -มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จุดด้อย -มุมให้คำปรึกษาขาดความเป็นส่วนตัว 4.โรงเรียนวชิรานุกูล จุดเด่น -มีความพร้อมด้านสถานที่ จุดด้อย -ขาดบุคคลากร และแกนนำ -ยังไม่มีการดำเนินงาน 5.โรงเรียนวรนารีเฉลิม จุดเด่น -มีความพร้อมด้านสถานที่ บุคคลากร -ผู้บริหารให้การสนับสนุน -มีสื่อให้ความรู้ที่หลากหลาย จุดด้อย -มีการปรับเปลี่ยนบุคคลากรทำให้การดำเนินงานขาดความต่อเนื่อง 6.โรงเรียนชัยมงคลวิทย์ จุดเด่น -มีความพร้อมด้านแกนนำ /แกนนำมีความตั้งใจ จุดด้อย -ไม่มีความพร้อมด้านสถานที่ / บุคลากร -ผู้บริหารไม่ทราบนโยบาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับประถม และระดับมัธยมศึกษา
ตัวชี้วัด : 1. มีแกนนำเครือข่าย “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑ เครือข่ายและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
1.00 3.00

มีแกนนำเครือข่าย คลินิคเพื่อนใจ วัยรุ่น เพิ่มขึ้น 3 โรงเรียน

2 2. เพื่อให้นักเรียนแกนนำ มีความรู้ทักษะด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ ๘๐ ของแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพมีความรู้และทักษะในเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้
80.00 94.39

แกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพมีความรู้และทักษะในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้น ร้อยละ 94.39

3 3. เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3. ทุกโรงเรียนผ่านการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
0.00

ไม่มีการประเมิน

4 4. เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 4. อัตราของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นอายุ 10-19ปี น้อยกว่าร้อยละ20
20.00 8.48

ร้อยละ 8.48

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450 450
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 450 450
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับประถม และระดับมัธยมศึกษา (2) 2. เพื่อให้นักเรียนแกนนำ มีความรู้ทักษะด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้ (3) 3. เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (4) 4. เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการรายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ (2) การจัดอบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ (3) การจัดอบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน (4) ติดตามการดำเนินงาน “คลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น” (5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (7) ค่าอาหารกลางวัน (8) ค่าตอบแทนวิทยากร (9) ค่าวัสดุ - อุปกรณ์ในการจัดอบรม (10) ค่าเช่าสถานที่อบรมวัน (11) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (12) ค่าอาหารกลางวัน (13) ค่าตอบแทนวิทยากร (14) ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดอบรม (15) ค่าเช่าห้องประชุม (16) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (17) ค่าจัดทำรูปเล่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแกนนำเยาวชนยุคดิจิทัล รวมใจสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.ปาริชาติ ธนากุลรังษี ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด