กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการ อย.น้อย สุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อย สุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-1-2 เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อย.น้อย สุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อย.น้อย สุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อย.น้อย สุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5273-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นอีกหนึ่งภารกิจของหน่วยงานสาธารณสุข โดยมีเป้าหมายเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ให้ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคจะประสบความสำเร็จได้ จำเป็นที่จะต้องมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานสาธารณสุขให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ทั่วถึง รพ.สต.ฉลุง จึงเล็งเห็นความสำคัญของนักเรียน และครูอนามัยโรงเรียน เป็นผู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่เพื่อนนักเรียน ซึ่งเด็กที่อยู่ในวัยเรียนเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล การให้ความรู้แก่นักเรียนและครูอนามัยโรงเรียน เพื่อสร้างศักยภาพและให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และความรู้เรื่องกัญชาอย่างปลอดภัย และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ไปยังเพื่อนนักเรียน ภายในโรงเรียน เพื่อกระตุ้นการดำเนินการกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและเป็นหูเป็นตาให้กับหน่วยงานสาธารณสุข โดยการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อยได้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถถ่ายทอดวิธีการเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัยแก่สมาชิกนักเรียน รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังนักเรียนทุกคน
  2. ข้อ 2.เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และสามารถตรวจเปื้อนในอาหาร โดยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นได้
  3. ข้อ 3. เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อยในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. การฝึกใช้ชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อน
  4. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการดำเนินงานศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพ single Window ในพื้นที่ตำบลฉลุอย่างต่อเนื่อง 2.นักเรียน อย.น้อยมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร 3.ประชาชนผู้บริโภคมีภูมิคุ้มกัน รู้เท่ารู้ทัน ไม่เป็นเหยื่อ ถูกหลอกลวง 4.เกิดภาคีเครือข่ายชุมชนในหมู่บ้าน และโรงเรียนสามารถดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การฝึกใช้ชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อน

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประเมินติดตามการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร 1.ออกตรวจร้านอาหารในโรงเรียน และแผงลอยหน้าโรงเรียนหรือชุมชน ร่วมกับนักเรียน อย.น้อย 2.แจ้งผลการตรวจให้กับผู้ประกอบการทราบกรณีที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้คำแนะนำและตรวจประเมินซ้ำ 3สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียน อย.น้อย ตรวจประเมินร้านอาหารในโรงเรียน           -ผ่านเกณฑ์ทั้ง 3 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 2.นักเรียน อย.น้อยตรวจสารปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของ  ผู้สัมผัสอาหาร อาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ด้วยน้ำยา SI 2  แก่ร้านอาหารในโรงเรียน ที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขภิบาลอาหารได้ผลการตรวจประเมิน ดังนี้         -ผ่านเกณฑ์ทั้ง 3 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 3.การจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตรายในโรงเรียน เด็กและผู้ปกครองสามารถส่งผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ศูนย์แจ้งเตือนภัยในโรงเรียนได้         -จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยทั้ง 3 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน อย.น้อยในโรงเรียน 1.ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม โดยใช้แบบสอบถาม 2.บรรยายให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่จากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่     -บรรยาย เรื่องการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกวิธี และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกัญชาอย่างปลอดภัย     -บรรยาย เรื่องการตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ การใช้หน้าต่างเตือนภัยการใช้หน้าต่างเตือนภัย สุขภาพของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ฯ ฝึกการใช้หน้าต่างเตือนภัยในชุมชน 3.ฝึกปฏิบัติตรวจสารปนเปือ้นในอาหารและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ -สาธิตการตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด  และการตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและยาโดยใช้ชุดทดสอบ -ฝึกปฏิบัติการใช้ชุดทดสอบในการตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด และการตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ เครื่องสำอางและยา 4.ทดสอบความรู้หลังอบรม โดยใช้แบบสอบถาม 5.สรุปผลการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน อย.น้อย มีความรู้เรื่อง การบริโภคอย่างปลอดภัย และมีความรู้การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย  ดังนี้ 1.อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและครูอนามัยโรงเรียนประถมศึกษา 3 โรงเรียน ในชุมชน จำนวน 70 คิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรบมีความร้รูการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัยในระดับดีมาก ร้อยละ 100 2.แกนนำนักเรียน อย.น้อยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสารปนเปื้อนในอาหารและสามารถตรวจสารปนเปื้อนในอาหารโดยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร  และผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นได้ระดับดีมาก  คิดเป็นร้อยละ 100 3.นักเรียน อย.น้อย  เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน  ตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ  จำนวน 20 รายการผลการตรวจ  พบสารสเตียรอยด์ จำนวน 2 รายการ ยาแผนโบราณ  ไมีมีฉลากยา และยาแผนโบราณยี่ห้อง Bugarin

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อยได้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถถ่ายทอดวิธีการเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัยแก่สมาชิกนักเรียน รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังนักเรียนทุกคน
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย มีความรู้เรื่องการบริโภคอย่างปลอดภัยและมีความรู้การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย

 

2 ข้อ 2.เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และสามารถตรวจเปื้อนในอาหาร โดยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย สามารถตรวจสารปนเปือนในผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นได้

 

3 ข้อ 3. เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อยในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย มีส่วนในการช่วยเหลือเพื่อน ๆ ครอบครัวและชุมชนด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อยได้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถถ่ายทอดวิธีการเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัยแก่สมาชิกนักเรียน รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังนักเรียนทุกคน (2) ข้อ 2.เพื่อให้แกนนำนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และสามารถตรวจเปื้อนในอาหาร โดยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นได้ (3) ข้อ 3. เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อยในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) การฝึกใช้ชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อน (4) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อย.น้อย สุขภาพดี รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด