โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมารยาท เสาวภาคย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L6896-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครตรัง ตระหนักถึงความสำคัญของการพยาบาลมารดาและทารก เพราะลูกเป็นสุดยอดความรักความห่วงใย พ่อแม่ทุกคนหวังให้ลูกสุขภาพดีแข็งแรง เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข โดยได้รับการเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัยทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ซึ่งการดำเนินงานจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายโดยเฉพาะครอบครัวมีส่วนร่วมอย่างมาก หญิงตั้งครรภ์และสามีต้องมีความรู้ ความเข้าใจเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด อสม.และเจ้าหน้าที่ มีบทบาทสำคัญในการเฝ้าติดตามดูแลและกระตุ้นให้ พ่อ แม่ เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเอง และทารกในครรภ์ให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่ดี รวมทั้งการดูแลหลังคลอด เพื่อป้องกันและลดโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ต่อตนเอง และทารก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
- เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้งตามเกณฑ์
- เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามสภาพปัญหา
- เพื่อให้มารดารู้จักใช้สื่อในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
290
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.มารดาหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตัวและการสังเกตอาการผิดปกติหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
๒.ทารกหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยมเฝ้าติดตามดูแลสุขภาพ มีการแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและมีการส่งต่อด้านการรักษาพยาบาลตามความเหมาะสม ลดอัตราการป่วย/ตาย
๓.มารดามีความรู้ในการเลี้ยงลูกนมแม่อย่างถูกวิธี
๔.มารดามีความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์เพื่อประเมินสุขภาพมารดาและทารก และภาวะการเจริญเติบโตของเด็กทารก พร้อมมอบของเยี่ยมส่งเสริมพัฒนาการและเพื่อส่งเสริมสุขภาพของมารดา
วันที่ 11 มกราคม 2560กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุ กระดาษเอ 4 ปากกา วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก กระเป๋าล้อลากใส่อุปกรณ์การแพทย์และอุปกรณ์เยี่ยมหลังคลอดขนาด 16 นิ้ว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยม ได้รับอุปกรณ์ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ จากเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและการสังเกตความผิดปกติได้อย่างถูกต้อง
290
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการนี้ คลอดในเขตรับผิดชอบ 385 คน
ออกเยี่ยม 385 คน
เยี่ยมพบ 231 คน
ให้สุขศึกษา/แนะนำ/ให้คำปรึกษา 231 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 60
2
เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้ง ตามเกณฑ์
3
เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามสภาพปัญหา
ตัวชี้วัด : มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดอย่างถูกต้อง
4
เพื่อให้มารดารู้จักใช้สื่อในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย
ตัวชี้วัด : มารดาสามารถใช้สื่อต่าง ๆ ในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
290
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
290
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (2) เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้งตามเกณฑ์ (3) เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามสภาพปัญหา (4) เพื่อให้มารดารู้จักใช้สื่อในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมารยาท เสาวภาคย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมารยาท เสาวภาคย์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L6896-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครตรัง ตระหนักถึงความสำคัญของการพยาบาลมารดาและทารก เพราะลูกเป็นสุดยอดความรักความห่วงใย พ่อแม่ทุกคนหวังให้ลูกสุขภาพดีแข็งแรง เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข โดยได้รับการเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัยทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ซึ่งการดำเนินงานจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายโดยเฉพาะครอบครัวมีส่วนร่วมอย่างมาก หญิงตั้งครรภ์และสามีต้องมีความรู้ ความเข้าใจเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด อสม.และเจ้าหน้าที่ มีบทบาทสำคัญในการเฝ้าติดตามดูแลและกระตุ้นให้ พ่อ แม่ เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเอง และทารกในครรภ์ให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่ดี รวมทั้งการดูแลหลังคลอด เพื่อป้องกันและลดโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ต่อตนเอง และทารก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
- เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้งตามเกณฑ์
- เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามสภาพปัญหา
- เพื่อให้มารดารู้จักใช้สื่อในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 290 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.มารดาหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตัวและการสังเกตอาการผิดปกติหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ๒.ทารกหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยมเฝ้าติดตามดูแลสุขภาพ มีการแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและมีการส่งต่อด้านการรักษาพยาบาลตามความเหมาะสม ลดอัตราการป่วย/ตาย ๓.มารดามีความรู้ในการเลี้ยงลูกนมแม่อย่างถูกวิธี ๔.มารดามีความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์เพื่อประเมินสุขภาพมารดาและทารก และภาวะการเจริญเติบโตของเด็กทารก พร้อมมอบของเยี่ยมส่งเสริมพัฒนาการและเพื่อส่งเสริมสุขภาพของมารดา |
||
วันที่ 11 มกราคม 2560กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุ กระดาษเอ 4 ปากกา วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก กระเป๋าล้อลากใส่อุปกรณ์การแพทย์และอุปกรณ์เยี่ยมหลังคลอดขนาด 16 นิ้ว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยม ได้รับอุปกรณ์ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ จากเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและการสังเกตความผิดปกติได้อย่างถูกต้อง
|
290 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการนี้ คลอดในเขตรับผิดชอบ 385 คน ออกเยี่ยม 385 คน เยี่ยมพบ 231 คน ให้สุขศึกษา/แนะนำ/ให้คำปรึกษา 231 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 60 |
|
|||
2 | เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้งตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ |
|
|||
3 | เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามสภาพปัญหา ตัวชี้วัด : มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดอย่างถูกต้อง |
|
|||
4 | เพื่อให้มารดารู้จักใช้สื่อในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย ตัวชี้วัด : มารดาสามารถใช้สื่อต่าง ๆ ในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 290 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 290 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (2) เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการติดตามเยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้งตามเกณฑ์ (3) เพื่อให้มารดาได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดรวมทั้งการดูแลทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามสภาพปัญหา (4) เพื่อให้มารดารู้จักใช้สื่อในการส่งเสริมพัฒนาการลูกให้เป็นไปตามวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการห่วงใยมารดาพัฒนาทารก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมารยาท เสาวภาคย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......