กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-1-5 เลขที่ข้อตกลง 7/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5273-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1000 วันแรกของชีวิต เริ่มตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงเด็กอายุ 2 ปี ซึ่งเป็นช่วงเวลาสำคัญแห่งกระบวนการพัฒนาร่างกายและทางสมอง ส่งผลต่อทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ภาวะเตี้ย ทุพโภชนาการ  พัฒนาการไม่สมวัย เนื่องจากเป็นช่วงที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง โดยการเพิ่มเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสม ร่วมกับกระบวนการกิน นอน กอด เล่น เล่า คุณภาพ จะทำให้ทารกที่เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงสุด จึงควรตระหนักและให้ความสำคัญกับคุณภาพการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมศักยภาพของเด็ก การส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตมีสุขภาพที่ดีรวมถึงมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยสามารถดำรงชีวิต อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสันติสุขนั้น ครอบครัวเป็นสิ่งแวดล้อมแรกที่มีความสำคัญในการเสริมเสร้างการเรียนรู้ และจากผลการทบทวนถึงรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู ที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็ก ในสังคมไทย พบว่าการอบรมเลี้ยงดูเน้นในการให้ความรัก ความอบอุ่น ในการอบรมสั่งสอนมีความสม่ำเสมอในบทบาทของการให้รางวัลและการลงโทษจะมีผลเชิงบวกต่อพัฒนาการเด็ก สอดคล้องกับการศึกษาที่พบว่าเด็กที่ถูกเลี้ยงดูแบบผสม มีโอกาสที่จะมีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัยเป็น 1.9 เท่า ของเด็ก ที่ถูกเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย ที่เน้นการให้ความรัก ความอบอุ่น การมีเหตุผล รวมถึงการเสริมเสร้างความมั่นใจ ให้กับเด็กแสดงว่าปัจจัยด้านพื้นฐานของครอบครัวและรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเจริญ เติบโต ภาวะสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก โดยผ่านกระบวนการอบรมเลี้ยงดูของผู้เลี้ยงดูเด็ก การพัฒนาความรู้ทักษะในการเลี้ยงดูเด็กให้กับ พ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก จึงมีความสำคัญยิ่ง โรงเรียน พ่อ แม่ เพื่อลูกรัก "สุขภาพดีสมองดีอารมณ์ดีมีความสุข" จึงเป็นกระบวนการหนึ่งที่จะส่งเสริมพัฒนาการและศักยภาพตามช่วงวัยของเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสม ผลการดำเนินงานคุณภาพด้านแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จาก HDC ในปี พ.ศ. 2565 พบประเด็นเกี่ยวข้องเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ได้แก่ 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกก่อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 97.73 2.การฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 97.33 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 4.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแล 3 ครั้งร้อยละ 87.23 5.โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 3.57 6. เด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 รัม ร้อยละ 5.17 7.พัฒนาการเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 97.70 คัดกรองพัฒนาเด็กตามกลุ่มอายุ ร้อยละ 83.70 เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 91.67 จากสถานการณ์ดังกล่าว พบว่างานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กเป็นงานที่สำคัญที่จะทำให้เด็กเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยจะต้องมีกระบวนการดูแลพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ และการดูแลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กมีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และจำเป็นต้องมีกระบวนการบูรณาการ เพื่อเป้าหมายเด็กไทยแข็งแรง เก่งดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยการมีส่วนร่วมของ อปท. ชุมชนและครอบครัว ภาคีเครือข่าย และใช้กระบวนการสร้างความรอบรู้ให้กับมารดา รวมถึงภาคเครือข่ายและคณะกรรมการพัฒนาครอบครัวระดับชุมชน จึงจัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต รพ.สต.ฉลุง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปีงบประมาณ 2566 เพื่อพัฒนาอนามัายสตรีและเด็กปฐมวัย เพื่อแม่เกิดรอดลูกปลอดภัย และเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
  2. ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย
  3. ข้อ 3.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  4. ข้อ 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็กและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่างๆ
  2. กิจกรรมอบรมแก่หญิงตั้งครรภ์
  3. กิจกรรมอบรมแกนนำอนามัยแม่และเด็ก
  4. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก
  5. อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์
  6. อบรมแก่นนำอนามัยแม่และเด็ก
  7. ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่างๆ
  8. ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก
  9. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนเป็นส่วนหนึ่งและร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารก 2.เครือข่ายสุขภาพตำบลฉลุง มีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต ส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กสูงดี สมส่วนและสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด 0-6 เดือน และเด็ก 6 เดือน - 2 ปี เพื่อประเมินครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมกลุ่มหญิงตั้งครรภ์  มารดาหลังคลอด  ได้มีประเมินพัฒนาการสมวัยของเด็ก

 

30 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่างๆ

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดจ้างร้านทำป้ายและแผ่นพับประชาสัมพันธ์  ให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมดูแลหญิงตั้งครรภ์  มารดาหลังคลอดและเด็กแรกเกิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการประชาสัมพันธ์  รณรงค์ให้ความรู้การส่งเสริมดูแลหญิงตั้งครรภ์  มารดาหลังคลอดและเด็กแรกเกิด

 

0 0

3. อบรมแก่นนำอนามัยแม่และเด็ก

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมแกนนำอนามัยแม่และเด็ก  เพื่อให้แกนนำอนามัยแม่และเด็ก มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก  และสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำอนามัยแม่และเด็กให้ความรู้แกนนำจำนวน  30 คน ได้มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก  และสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ และแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง  จำนวนแกนนำที่สนใจเข้าร่วมในกิจกรรม 36 คน

 

30 0

4. ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก  โดยการจัดซื้อชุดส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กเล็กได้มีชุดส่งเสริมพัฒนาการเด็ก  ทำให้เด็กได้มีพัฒนาการที่ดี  ตรงตามอายุของเด็ก

 

20 0

5. อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์

วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก (โรงเรียนพ่อแม่) แก่หญิงตั้งครรภ์และสามีและผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมโครงการรายใหม่ทุกราย (หญิงตั้งครรภ์และสามีต้องเข้าร่วมอบรมความรู้โรงเรียนพ่อแม่ อย่างน้อย 1 ครั้ง)  จำนวน 2 รุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์และสามีและผู้ดูแลเด็กได้มีความรู้ในเรื่องของการเตรียมตัวเป็นพ่อแม่  เพื่อดูแลลูก

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

 

2 ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 16 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7

 

3 ข้อ 3.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดี เด็กปฐมวันมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

 

4 ข้อ 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็กและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42, 60 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ (2) ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย (3) ข้อ 3.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (4) ข้อ 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็กและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่างๆ (2) กิจกรรมอบรมแก่หญิงตั้งครรภ์ (3) กิจกรรมอบรมแกนนำอนามัยแม่และเด็ก (4) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (5) อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ (6) อบรมแก่นนำอนามัยแม่และเด็ก (7) ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อต่างๆ (8) ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (9) ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด