กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
1.นางสาวสีตีฟาตีม๊ะ ยามาสา 2.นางสาวฮอดีย๊ะ ยามาสา




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8409-02-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L8409-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,670.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคกระดูกและข้อเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ เนื่องจากอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยข้อที่พบว่าเป็นปัญหาสุขภาพมากที่สุดคือ ข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่มีขนาดใหญ่และต้องรับน้ำหนัก  ของร่างกายโดยตรง ทั้งยังต้องทำหน้าที่เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย โรคข้อเข่าเสื่อมหมายถึงภาวะที่ข้อเข่าเกิดความผิดปกติเนื่องจากสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงแบบถดถอยซึ่งสัมพันธ์โดยตรงกับอายุที่มากขึ้น และเป็นปัญหาสำคัญของระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยเนื่องจากเป็นโรคข้อที่พบบ่อยที่สุด 1 ใน 10 ของโรค ที่เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความทุพพลภาพในผู้สูงอายุ อีกทั้งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว อาการผิดปกติของผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในระยะแรกประกอบด้วย อาการปวดอาจร่วมกับการมีข้อเข่าบวม อาการขัดที่ข้อเข่า โดยอาการจะเป็นมากขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหวของข้อเข่ามากขึ้น ในขณะเหยียดและงอข้อเข่าจะมีอาการปวด หรือขัดในข้อมากขึ้น และมีเสียงลั่นในข้อ ซึ่งอธิบายจากการที่ผิวกระดูกภายในข้อเริ่มไม่เรียบและมีกระดูกงอกเกิดขึ้น อาการปวดที่เกิดในผู้ป่วยบางรายทำให้เกิดการปรับตัวด้วยการไม่เหยียดหรืองอข้อเข่าจนสุด เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้นทำให้เกิดปัญหาข้อติดขัด และเคลื่อนไหวไม่เต็มวงของการงอเข่าตามมา เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้นหรือข้อที่เสื่อมอักเสบถูกใช้งานมากอย่างต่อเนื่อง ก็ทำให้อาการผิดปกติเหล่านี้เป็นมากขึ้นได้ สาเหตุของโรคข้อเข่าเสื่อมมีหลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่วัยหนุ่มสาว การที่มีน้ำหนักตัวมากเกินไปทำให้เข่าต้องรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีอาการอักเสบ ติดเชื้อหรือเป็นโรคไขข้อบางชนิด สถานการณ์ของคนในหมู่บ้านที่เกิดโรคข้อเข่าเสื่อมประมาณ 30 คน ดังนั้น เพื่อเป็นแนวทางให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ซึ่งเป็นการป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมรวมถึงป้องกันภาวะทุพพลภาพที่อาจจะเกิดตามมาได้ในผู้สูงอายุอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม ประจำปีงบประมาณ 2566” ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การดูแลตนเอง รวมถึงท่าบริหารต่างๆ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพรและวิธีการใช้ ซึ่งการพอกเข่าด้วยสมุนไพรเป็นการนำสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีสรรพคุณเพิ่มการไหลเวียนเลือด ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดอาการบวม มาพอกบริเวณเข่า  ซึ่งเมื่อทำควบคู่กับการบริหารข้อเข่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมก็จะสามารถชะลอความเสื่อมของข้อเข่าและป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ รวมถึงท่าบริหารต่างๆ ที่สามารถป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้ยาพอกเข่า
  2. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ รวมถึงท่าบริหารต่างๆ ที่สามารถป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้ยาพอกเข่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 65
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การดูแลตนเอง รวมถึงทำท่าบริหารต่างๆ  เพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้
    2. ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม และปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
    3. ผู้สูงอายุสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาทำเป็นยาพอกเข่าและสามารถพอกเข่าด้วยตนเองได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ รวมถึงท่าบริหารต่างๆ ที่สามารถป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้ยาพอกเข่า
    ตัวชี้วัด :

     

    2 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ รวมถึงท่าบริหารต่างๆ ที่สามารถป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้ยาพอกเข่า
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 65
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ รวมถึงท่าบริหารต่างๆ ที่สามารถป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
    3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้ยาพอกเข่า (2) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ รวมถึงท่าบริหารต่างๆ ที่สามารถป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อม รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
    3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำยาพอกเข่าด้วยสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้ยาพอกเข่า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอข้อเข่าเสื่อม บ้านโต๊ะยูด๊ะ หมู่ที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 66-L8409-02-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( 1.นางสาวสีตีฟาตีม๊ะ ยามาสา 2.นางสาวฮอดีย๊ะ ยามาสา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด