กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเจาะเลือดตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร
รหัสโครงการ 66-L5273-1-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
วันที่อนุมัติ 14 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2566
งบประมาณ 38,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุดา นิยมเดชา
พี่เลี้ยงโครงการ นางดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.007,100.296place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 38,800.00
รวมงบประมาณ 38,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้ สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไมม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภุมิคุ้มกัน เป็นต้น ประชาชนตำบลฉลุงส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเกษตรเปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบเดิม จาการทำเกษตรเพื่อบริโภคมาเป็นการทำเกษตรเพื่อเศรษฐกิจ เกษตรกรต้องการผลผลิตและรักษาคุณภาพของสินค้า จึงจำเป็นต้องใช้สารเคมี ประกอบกับมีการระบาดของศัตรูพืช จึงจำเป็นต้องใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชเพิ่มสูงขึ้น ตำบลฉลุงมีจำนวนเกษตรกลุ่มที่สัมผัสสารเคมีในการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา สวนผลไม้ และปลุกผัก ซึ่งเสี่ยงต่ออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช รพ.สต.ฉลุง มีการดำเนินงานดูแลสุขภาพเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง โดยการให้ความรู้แก่เกษตรกรในพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เพื่อให้เกษตรกรมีความตระหนักถึงโอกาสเสี่ยงในการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชทุกปี แต่ถึงอย่างไรก็ยังพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ยังมีพฤติกรรมในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ไม่ถูกต้อง จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการเจาะเลือดตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันและลดอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตร และประชาชนกลุ่มเสี่ยง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสารเคมีในเลือด

ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเปาหมายได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด

2 ข้อ 2.เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีแก่เกษตรกร

ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างถูกต้อง

3 ข้อ 3.เพื่อป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนจากสารเคมีเกษตร

ร้อยละ 50 ของเกษตรกรและประชาชนทีมีความเสี่ยงจากการเจาะเลือด  ได้รับการแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และรักษาด้วยสมุนไพรรางจืด  และได้รับเจาะเลือดหลังรับประทานสมุนไพรรางจืด

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66
1 กิจกรรมปฏิบัติการคัดกรอง(1 พ.ค. 2566-31 ส.ค. 2566) 12,100.00        
2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้(1 พ.ค. 2566-31 ส.ค. 2566) 26,700.00        
3 กิจกรรมให้สุขศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง(1 พ.ค. 2566-31 ส.ค. 2566) 0.00        
รวม 38,800.00
1 กิจกรรมปฏิบัติการคัดกรอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 350 12,100.00 1 12,100.00
1 พ.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 ปฏิบัติตรวจคัดกรอง 350 12,100.00 12,100.00
2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 90 26,700.00 1 26,700.00
1 พ.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 อบรมให้ความรู้ 90 26,700.00 26,700.00
3 กิจกรรมให้สุขศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
1 พ.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 ให้สุขศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงต่อยาฆ่าแมลงในพื้นที่ได้รับการตรวจเลือดเพื่อหาปริมาณสารตกค้างในกระแสเลือด 2.กลุ่มเสี่ยงต่อยาฆ่าแมลงในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติที่ถูกต้องในการใช้ยาฆ่าแมลง 3.เกษตรกรและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีได้อย่างถูกตก้องและปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2566 14:41 น.