กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบิสณี เด่นดารา

ชื่อโครงการ โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-66-1-7 เลขที่ข้อตกลง 22/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-66-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีน้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดปลอดภัยถือเป็นความจำเป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิต ซึ่งจะทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี การจัดหาน้ำสะอาดจึงถูกกำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2505-2509) จนถึงปัจจุบัน หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจึงได้จัดให้มีบริการน้ำสะอาดแก่ประชาชนทั้งในพื้นที่เขตเมืองและเขตชนบท นอกจากนี้ยังได้ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการน้ำในชุมชนของตนเองเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำสะอาดด้วยตนเอง เพื่อให้ประชาชนได้มีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและใช้อย่างทั่วถึงและพอเพียง แต่ด้วยสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมและการขยายตัวของเมืองอย่างต่อเนื่อง มีประชากร ครัวเรือน และสิ่งต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภค ซึ่งทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการใช้น้ำที่ไม่สะอาด มีการปนเปื้อนของเชื้อโรค ซึ่งจะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ทั้งพิษเฉียบพลัน เช่น โรคอุจจาระร่วง อหิวาตกโรค เป็นต้น รวมถึงพิษเรื้อรัง เช่น ก่อให้เกิดมะเร็ง เป็นต้น ดังจะเห็นได้จากข้อมูลกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ที่ได้ดำเนินการสำรวจและประเมินสถานการณ์คุณภาพน้ำบริโภคในประเทศไทยเพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคให้สะอาดปลอดภัยจากการปนเปื้อนของแบคทีเรีย จากแหล่งน้ำบริโภคทุกประเภท โดยสำรวจข้อมูลการจัดการน้ำบริโภคในครัวเรือน แหล่งน้ำที่ประชาชนนิยมใช้บริโภค ได้แก่ น้ำประปา น้ำดื่มบรรจุขวด น้ำบ่อตื้น น้ำบ่อบาดาล น้ำฝน น้ำตู้หยอดเหรียญ ซึ่งมีการสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการกรมอนามัยตั้งแต่ ปี พ.ศ.2551-2563 เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์คุณภาพน้ำบริโภคเปรียบเทียบกับเกณฑ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ จำนวน 20 พารามิเตอร์ จากข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ. 2553-2562) คุณภาพน้ำบริโภคจากทุกแหล่งผ่านเกณฑ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ทั้งทางด้านกายภาพ เคมี และแบคทีเรียเหมาะสมสำหรับนำมาบริโภค เฉลี่ยร้อยละ 33.6 และที่เหลือร้อยละ 66.4 ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ โดยมีการปนเปื้อนทางด้านแบคทีเรียมากที่สุด การปนเปื้อนในน้ำนี้ หากประชาชนบริโภคหรือได้รับเข้าสู่ร่างกายก็อาจทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อให้ประชาชนได้มีน้ำที่สะอาด ปลอดภัย มีคุณภาพเหมาะสมสำหรับการอุปโภคบริโภค อันจะเป็นการป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อและส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลคลองขุดมีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีน้ำอุปโภค (น้ำใช้) บริโภค ที่สะอาด เพียงพอตลอดปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค
  2. เฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ดูแลระบบประปาและน้ำดื่มมีความรู้ในการดูแลระบบผลิตประปาให้สะอาดปลอดภัย สามารถป้องกันการปนเปื้อนเชื้อโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อได้
  2. นักเรียนและประชาชนทั่วไปมีน้ำที่สะอาดปลอดภัยในการอุปโภคบริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาในกลุ่มเป้าหมาย 1.1 ตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่ผลิตประปาและพัฒนาสุขาภิบาลระบบประปาตามเป้าหมายกลุ่ม 1.2 สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำตรวจวัดคุณภาพน้ำด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ปีละ 4 ครั้ง (ทุก 3 เดือน) กรณีผลการตรวจไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ปรับปรุงแก้ไขและทำการตรวจซ้ำจนผ่านเกณฑ์
2.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและประชาชนทั่วไปมีน้ำที่สะอาดปลอดภัยในการอุปโภคบริโภค

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- สำรวจข้อมูลการผลิตน้ำประปาในพื้นที่ ประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
- ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมดำเนินงาน
2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
3.ขั้นตอนการดำเนิน
3.1 การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา
3.2 ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลระบบประปาและน้ำดื่มมีความรู้ในการดูแลระบบผลิตประปาให้สะอาดปลอดภัย สามารถป้องกันการปนเปื้อนเชื้อโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. กิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาแก่ผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้าน โรงเรียน และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (การผลิตน้ำบริโภค) และเพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน โรงเรียน และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลคลองขุดให้สะอาดปราศจากเชื้อโรคมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค จำนวน 50 คน และได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่ม โดยจากการประเมินความรู้โดยใช้แบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม พบว่า มีผลการเรียนรู้เฉลี่ยก่อนการอบรมเท่ากับ 5.40 คะแนน และมีผลการเรียนรู้เฉลี่ยหลังการอบรม เท่ากับ 9.04 คะแนน (คะแนนเต็มเท่ากับ 10) และมีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100 และจากการประเมินความพึงพอใจในการจัดอบรมเฉลี่ย เท่ากับ 4.71 คิดเป็นร้อยละ 94.28 อยู่ในระดับมากที่สุด พร้อมได้สนับสนุนคลอรีนฆ่าเชื้อโรคในสถานที่ผลิตน้ำประปา ระบบผลิตน้ำดื่ม และสถานที่บริการน้ำดื่มในโรงเรียนดังกล่าว
จากการติดตามผลหลังการจัดการอบรม โดยการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่มน้ำใช้ ปรากฎผลดังนี้ 1. ระบบประปาหมู่บ้าน ใช้เพื่อการอุปโภค จำนวน 8 แห่ง (สุ่มตรวจ 16 จุด) ผลการตรวจพบว่า
  - ไม่พบการปนเปื้อนเชื้ออีโคไล ในตัวอย่างน้ำที่สุ่มตรวจ คิดเป็นร้อยละ 100
  - พบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ในตัวอย่างน้ำที่สุ่มตรวจ จำนวน 3 แห่ง (6 จุด)
2. ระบบผลิตน้ำดื่มของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จำนวน 6 แห่ง (สุ่มตรวจ 6 จุด) ผลการตรวจพบว่า
  - ไม่พบการปนเปื้อนเชื้ออีโคไล ในตัวอย่างน้ำดื่มที่สุ่มตรวจ คิดเป็นร้อยละ 100
  - ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ในตัวอย่างน้ำดื่มที่สุ่มตรวจ คิดเป็นร้อยละ 100 3. ระบบประปาของโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง (สุ่มตรวจ 17 จุด) ผลการตรวจพบว่า
  - ไม่พบการปนเปื้อนเชื้ออีโคไล ในตัวอย่างน้ำดื่มที่สุ่มตรวจ คิดเป็นร้อยละ 100
  - พบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ในตัวอย่างน้ำดื่มที่สุ่มตรวจ จำนวน 2 แห่ง (2 จุด) จากการติดตามผล โดยการตรวจหาเชื้อโรคปนเปื้อนในน้ำดื่มและน้ำใช้ของกลุ่มเป้าหมาย ผลการสุ่มตรวจทั้งสิ้น จำนวน 37 ตัวอย่าง พบว่า ปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 10 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 27) ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 27 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 73) ในส่วนการตรวจหาเชื้ออีโคไล ไม่พบการปนเปื้อน คิดเป็นร้อยละ 100 ทั้งนี้ ผลตรวจที่พบการปนเปื้อน ได้แจ้งผลและแนะนำให้ผู้ดูแลระบบผลิตน้ำได้ปรับปรุงแก้ไขโดยการเติมคลอรีนในน้ำดื่มน้ำใช้ดังกล่าวแล้ว ซึ่งจะติดตามผลโดยการตรวจสอบซ้ำอย่างต่อเนื่อง ทุก 3 เดือน (4 ครั้งต่อปี) 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์  บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จำนวน 50 คน ดังนี้ - ผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้าน จำนวน 16 คน - เจ้าของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ผลิตน้ำดื่ม) จำนวน 4 คน - ผู้ดูแลระบบประปาในโรงเรียน จำนวน 10 คน - เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำดื่มน้ำใช้ในพื้นที่ จำนวน 20 คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................34,160....... บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ............... 33,737........บาท  คิดเป็นร้อยละ .......98.8.......... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ................423...............บาท  คิดเป็นร้อยละ .......1.2............ 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี  มี   1. ระบบผลิตน้ำประปาหมู่บ้านในพื้นที่บางแห่ง เป็นระบบเก่าไม่มีอุปกรณ์หรือกระบวนการเติมคลอรีนในระบบการผลิตน้ำประปา จึงทำให้ยังมีการปนเปื้อนของเชื้อโรคในน้ำใช้   2. การขาดความต่อเนื่องในการเติมคลอรีนในระบบผลิตประปาหมู่บ้านบางแห่ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการมีงบประมาณที่จำกัดและไม่เพียงพอ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีน้ำอุปโภค (น้ำใช้) บริโภค ที่สะอาด เพียงพอตลอดปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีน้ำอุปโภค (น้ำใช้) บริโภค ที่สะอาด เพียงพอตลอดปี
50.00 65.00 65.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 57
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 57
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีน้ำอุปโภค (น้ำใช้)  บริโภค ที่สะอาด เพียงพอตลอดปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค (2) เฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค

รหัสโครงการ L5300-66-1-7 รหัสสัญญา 22/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาในกลุ่มเป้าหมาย
1. ตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่ผลิตประปาและพัฒนาสุขาภิบาลระบบประปาตามเป้าหมายกลุ่ม
2. สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำตรวจวัดคุณภาพน้ำด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ปีละ 4 ครั้ง (ทุก 3 เดือน) กรณีผลการตรวจไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ปรับปรุงแก้ไขและทำการตรวจซ้ำจนผ่านเกณฑ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาในกลุ่มเป้าหมาย
1. ตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่ผลิตประปาและพัฒนาสุขาภิบาลระบบประปาตามเป้าหมายกลุ่ม
2. สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำตรวจวัดคุณภาพน้ำด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ปีละ 4 ครั้ง (ทุก 3 เดือน) กรณีผลการตรวจไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ปรับปรุงแก้ไขและทำการตรวจซ้ำจนผ่านเกณฑ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคให้สะอาดปลอดภัยจากการปนเปื้อนของแบคทีเรีย เพื่อให้ประชาชนได้มีน้ำที่สะอาด ปลอดภัย มีคุณภาพเหมาะสมสำหรับการอุปโภคบริโภค อันจะเป็นการป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

เฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาในกลุ่มเป้าหมาย
1. ตรวจประเมินสุขลักษณะสถานที่ผลิตประปาและพัฒนาสุขาภิบาลระบบประปาตามเป้าหมายกลุ่ม
2. สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำตรวจวัดคุณภาพน้ำด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ปีละ 4 ครั้ง (ทุก 3 เดือน) กรณีผลการตรวจไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ปรับปรุงแก้ไขและทำการตรวจซ้ำจนผ่านเกณฑ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการน้ำดื่มน้ำใช้สะอาดปราศจากโรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-66-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวบิสณี เด่นดารา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด