กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุทิน สุขแสง

ชื่อโครงการ แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-1002 เลขที่ข้อตกลง 018/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-1002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีความรู้ ความเข้าใจ รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง
  2. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยาและความรวดเร็วในการเข้าถึงการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  4. เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
  5. เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีววิตได้
  6. เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  7. เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการตัวแทนประกัน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 294
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ) สามารถควบคุมโรคเรื้อรังให้อยู่ในเกณฑ์หรือคงที่หรือมีทิศทางที่ดีขึ้นกว่าเดิมได้ร้อยละ 50 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  2. ผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ มีอัตราการติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดในสมองลดลงหรือไม่มีเลย
  3. ผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ มีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองลดลงหรือไม่มีเลย
  4. ผู้ถือกรมธรรม์มีดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 10 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  5. ผู้ถือกรมธรรม์มีรอบเอวลดลง ร้อยละ 10 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  6. ตัวแทนประกัน (จิตอาสา) มีความรู้ มีทักษะในการติดตามดูแลผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการได้อย่างถูกต้อง
  7. มีจิตอาสาในการติดตามดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  8. สามารถบันทึกทะเบียนประวัติ/สมุดบันทึกสุขภาพ สำหรับผู้ถือกรมธรรม์ได้อย่างครบถ้วน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

วันที่ 18 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจปัญหาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของกลุ่มคนที่มีภาวะติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่ตำบลบ้านนา/จัดเตรียมข้อมูล
  2. ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน มอบหมายหน้าที่แผนงานหรือกิจกรรมในการดำเนินการป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ให้เกิดภาวะติดบ้านติดเตียงภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  3. จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) มอบหมายหน้าที่ให้ภาคีเครือข่ายร่วมกันจัดทำแผนงาน กิจกรรม ต่างๆเพื่อดำเนินงานภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  4. จัดทำแผนการดำเนินงาน/กิจกรรมภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียงเพื่อเสนอขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา
  5. ขอความอนุเคราะห์ตัวแทนประกัน (จิตอาสา) ในแต่ละหมู่บ้านจากประธาน อสม.
  6. รับสมัครผู้ป่วยโรคเรื้อรังเข้าร่วมโครงการ (ผู้ขอเอากรมธรรม์)
  7. จัดทำข้อมูลตัวแทนประกัน (จิตอาสา) และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่จำเป็นต้องติดตาม (ผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สมัครเข้าร่วมโครงการ)
  8. จัดทำทะเบียนประวัติผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ (ผู้ถือกรมธรรม์) ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  9. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ตัวแทนประกัน (จิตอาสา) ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน ให้มีความรู้และมีทักษะในการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ การกระตุ้น/ชักจูง การสร้างแรงจูงใจให้ผู้ถือกรมธรรม์ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การถ่ายทอดความรู้ คำแนะนำ กำกับ กำชับให้ผู้ถือกรมธรรม์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรู้ทันโรคหลอดเลือดสมอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ข้อมูลตัวแทนประกัน (จิตอาสา) จำนวน 20 คน
2.ได้ข้อมูลจำนวนผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้เข้าร่วมโครงการ) จำนวน 294 คน
3.ตัวแทนประกัน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการกระตุ้น/ชักจูง การสร้างแรงจูงใจให้ผู้ถือกรมธรรม์ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การถ่ายทอดความรู้ คำแนะนำ กำกับ กำชับให้ผู้ถือกรมธรรม์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรู้ทันโรคหลอดเลือดสมอง

 

21 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีความรู้ ความเข้าใจ รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยาและความรวดเร็วในการเข้าถึงการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีววิตได้
ตัวชี้วัด :

 

6 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด :

 

7 เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 315
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 294
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีความรู้ ความเข้าใจ รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยาและความรวดเร็วในการเข้าถึงการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค (3) เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ (4) เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ (5) เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีววิตได้ (6) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (7) เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการตัวแทนประกัน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


แผนงานการฝึกอบรม “การพัฒนาศักยภาพตัวแทนประกันสำหรับการติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน” ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-1002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทิน สุขแสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด