กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัย ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเน๊าะ มิหิ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4131-03-02 เลขที่ข้อตกลง 03/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,210.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยนี้เป็นวัยที่เริ่มต้องใช้พลังงานในการเล่นมาก โภชนาการในช่วงนี้จึงต้องการอาหารจำพวกโปรตีน และอาหาร 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย ได้แก่ ข้าวหรือแป้ง เนื้อสัตว์ต่าง ๆ เครื่องในสัตว์ ผักใบเขียวและผักอื่น ๆ ธาตุเหล็ก” เป็นสารอาหารที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตทางระบบประสาทและสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัยเด็ก จากการศึกษาพบว่าเด็กที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กจะมี IQ ที่ต่ำกว่าเด็กที่ได้รับการรักษาภาวะซีด(โลหิตจาง) ช่องปากกับภาวะโภชนาการมีความสัมพันธ์กันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เนื่องจากช่องปากเป็นจุดเริ่มต้นของระบบทางเดินอาหาร ฟันเป็นอวัยวะที่สำคัญมีหน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหาร ช่วยในการออกเสียงและเสริมใบหน้าให้สวยงาม และเสริมบุคลิกภาพ สุขภาพในช่องปากจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการบำรุงรักษาถูกต้องอย่างสม่ำเสมอ เพื่อถนอมฟันให้อยู่สภาพที่ดี การขาดความเอาแต่ใจใส่ในเรื่องการดูแลสุขภาพฟันในช่องปากตั้งแต่การแปรงฟันไม่ถูกวิธี การรับประทานอาหารไม่ถูกวิธีเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ ปัญหาที่คุกคามสุขภาพของเด็กที่มีสาเหตุมาจากการมีฟันน้ำนมผุซึ่งการเกิดโรคฟันผุในเด็กมักพบว่า นอกจากจะก่อให้เกิดความเจ็บปวดแล้ว การสูญเสียฟันไปก่อนกำหนด ทำให้เด็กรับประทานอาหารลำบากและเคี้ยวไม่สะดวก ส่งผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็ก บุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตัวเอง และฟันน้ำนมผุยังมีผลให้ฟันน้ำนมซี่อื่น ๆ อาหารเป็นปัจจัยสำคัญของการเจริญเติบโตของเด็กในวัยนี้   จากที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัยขึ้นในปีที่ผ่านมา ได้รับผลตอบรับจากผู้ปกครองเป็นอย่างมากและตระหนักถึงความสำคัญการดูแลรักษาช่องปาก ฟัน ถือเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยในการเจริญเติบโตของลูก เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองในปีการศึกษาใหม่นี้ได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กและเด็กปฐมวัยได้รับการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตภิบาล คัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็กเพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขดีขึ้นและป้องกันแก้ไขภาวะซีดในเด็กปฐมวัยให้ลดลง ทั้งนี้จะต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจประเมินการแปรงฟันและประเมินการฟันผุของเด็ก
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก
  3. เพื่อตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก
  4. เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขโดยอาหารเสริมจนมีสถานการณ์โภชนาการดีขึ้น
  5. เพื่อป้องกันแก้ไขเด็กใน ศพด. ไม่ให้มีภาวะซีด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก
  2. ตรวจประเมินการแปรงฟันประเมินการฟันผุของเด็กและการสอนแปรงฟันตัวต่อตัวโดยทันตภิบาล
  3. ตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กทุกคนได้รับการตรวจประเมินการแปรงฟันและประเมินการฟันผุ
  2. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก
  3. เด็กทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการ
  4. ป้องกันแก้ไขเด็กใน ศพด. ให้มีภาวะซีดลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจประเมินการแปรงฟันประเมินการฟันผุของเด็กและการสอนแปรงฟันตัวต่อตัวโดยทันตภิบาล

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินการฟันผุของเด็กและการสอนแปรงฟันตัวต่อตัวโดยทันตภิบาล

 

0 0

2. ตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก

 

0 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก 2.เด็กนักเรียนได้รับการตรวจประเมินการแปรงฟันผุของเด็กและการสอนแปรงฟันตัวต่อตัว 3.เด็กนักเรียนได้รับตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก

 

76 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจประเมินการแปรงฟันและประเมินการฟันผุของเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอได้รับการตรวจประเมินการแปรงฟันและประเมินการฟันผุ

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก

 

3 เพื่อตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอได้รับคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก

 

4 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขโดยอาหารเสริมจนมีสถานการณ์โภชนาการดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขโดยอาหารเสริมจนมีสถานการณ์โภชนาการดีขึ้น

 

5 เพื่อป้องกันแก้ไขเด็กใน ศพด. ไม่ให้มีภาวะซีด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอได้รับการป้องกันภาวะซีด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจประเมินการแปรงฟันและประเมินการฟันผุของเด็ก (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก (3) เพื่อตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก (4) เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขโดยอาหารเสริมจนมีสถานการณ์โภชนาการดีขึ้น (5) เพื่อป้องกันแก้ไขเด็กใน ศพด. ไม่ให้มีภาวะซีด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็ก (2) ตรวจประเมินการแปรงฟันประเมินการฟันผุของเด็กและการสอนแปรงฟันตัวต่อตัวโดยทันตภิบาล (3) ตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการของเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อโภชนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4131-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอามีเน๊าะ มิหิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด