กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
อบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 4 รุ่นๆละ 1 วัน 1 เม.ย. 2566 8 มิ.ย. 2566

 

๔.๑.ขั้นเตรียมการ           ๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส เพื่อมอบหมายงานรับผิดชอบ           ๒. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ
    ๔.๒. ดำเนินงานตามโครงการ           ๑. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ก่อนเริ่มโครงการวัดระดับน้ำตาลปลายนิ้ว           ๒. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ ๒ ส ๑ ฟ และ ๑ น.           ๓. จัดอบรมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโครงการฯเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและบ้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย             - ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง           - ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม           - วิธีสังเกตอาการและอาการผิดปกติจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง           - วิธีสังเกตปริมาณน้ำตาลและเกลือในอาหารสำเร็จรูป/อาหารแปรรูป
          - อาหารแลกเปลี่ยนในหมวดหมู่เดียวกัน           - การปฏิบัติตัวเพื่อลดการบริโภคอาหารหวาน มันและเค็มในอาหาร           - การออกกำลังกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง       ๔. หลังเสร็จสิ้นการอบรม เปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับ  จากนั้นจึงเน้นถึงอาหารที่ควรงด/ลดการบริโภค       ๕. ติดตามผลและประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มผู้ป่วยในชุมชน       ๖. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

  1. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  หลังเข้าโครงการมีสุขภาพดีขึ้น  สามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

 

การตรวจคัดกรองสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 1 เม.ย. 2566 2 มิ.ย. 2566

 

๔.๑.ขั้นเตรียมการ           ๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส เพื่อมอบหมายงานรับผิดชอบ           ๒. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ
    ๔.๒. ดำเนินงานตามโครงการ           ๑. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ก่อนเริ่มโครงการวัดระดับน้ำตาลปลายนิ้ว           ๒. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ ๒ ส ๑ ฟ และ ๑ น.           ๓. จัดอบรมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโครงการฯเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและบ้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย             - ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง           - ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสม           - วิธีสังเกตอาการและอาการผิดปกติจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง           - วิธีสังเกตปริมาณน้ำตาลและเกลือในอาหารสำเร็จรูป/อาหารแปรรูป
          - อาหารแลกเปลี่ยนในหมวดหมู่เดียวกัน           - การปฏิบัติตัวเพื่อลดการบริโภคอาหารหวาน มันและเค็มในอาหาร           - การออกกำลังกายเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง       ๔. หลังเสร็จสิ้นการอบรม เปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับ  จากนั้นจึงเน้นถึงอาหารที่ควรงด/ลดการบริโภค       ๕. ติดตามผลและประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มผู้ป่วยในชุมชน       ๖. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

  1. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  หลังเข้าโครงการมีสุขภาพดีขึ้น  สามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้