กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดทำฐานทะเบียนผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่ตำบลกระเสาะ ให้เป็นปัจจุบันซึ่งมีผู้ป่วยดังนี้ 1.1 บ้านลางสาด จำนวน 4 ราย 1.2 บ้านกระเสาะ จำนวน 3 ราย 1.3 บ้านกำปงบารู จำนวน 6 ราย 1.4 บ้านยุกง จำนวน 2 ราย 1.5 บ้านบือเร๊ะ จำนวน 2 ราย 2.จัดประชุมเพื่อชี้แจงปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในพื้นที่ และร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงาน โดยจนท.รพ.สต.กระเสาะ อสม.แต่ละหมู่บ้าน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานให้เป็นไปในทางเดียวกัน จำนวน 45 คน
  2. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับสุขภาพจิต โรคจิตเวช รวมทั้งการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ที่ถูกต้องและได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีการส่งต่อประสานงานที่เป็นแนวทางเดียวกัน จำนวน 50 คน ประกอบด้วย จนท. อสม. ทีมเครือข่ายและผู้ดูป่วยจิตเวช
  3. ออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช โดยจนท.อสม.ในแต่ละแวกที่รับผิดชอบ และร่วมด้วยทีมเครือข่ายในพื้นที่ โดยจะมอบ Sex box ให้กับผู้ป่วยจิตเวชรวมถึงญาติที่ดูแกลกก เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจและเป็นการจัดระเบียบในเรื่องทานยาที่ถูกต้อง รวมทั้งหมด 20 คน Sex box ประกอบด้วยกล่อง 1 ใบ ผ้าขนหนู1 ผืน แปรงสีฟันพร้อมยาสีฟัน 1 ชุด แผ่นพับการดูแลผูู้ป่วยจิตเวช 1 ชุด
  4. ติดสื่อให้ความรู้โดยจัดทำป้ายไวนิล ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ 5 สัญญาณเตือนผู้ป่วยจิตเวชและ 4 วิธีดูแลผู้ป่วยจิตเวช โดยติดตั้งบริเวณจุดสำคัญในพื้นที่ทั้ง 5 หมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลบุคคลในครอบครัวได้

ผู้ป่วยจิตเวชในตำบลกระเสาะปี 2566 จำนวน 17 ราย ทานยาสม่ำเสมอ 14 ราย ทานยาไม่สม่่่ำเสมอ 3 ราย ส่งต่อบ้านอุ่นไอรัก 1 ส่งต่อรพ.ปัตตานี 1 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีอาการกลับเป็นซ้ำที่ลดลงไม่มีอาการกำเริบ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคจิตเวช ในพื้นที่ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ทานยาสม่ำเสมอ อาการกลับเป็นซ้ำลดลง
0.00 0.00

 

2 เพื่่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ญาติหรือผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
0.00

 

3 เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระ การดูแลของญาติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระของผู้ดููแลของญาติ
0.00

 

4 เพื่อทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน
ตัวชี้วัด : ทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทางเดียวกัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 45 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีอาการกลับเป็นซ้ำที่ลดลงไม่มีอาการกำเริบ (2) เพื่่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง (3) เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระ การดูแลของญาติ (4) เพื่อทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh