กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566 ”

ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยุกฤษฏ์ ทองบุญ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2481-1-07 เลขที่ข้อตกลง 09/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2481-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางการเเพทย์และสาธารณสุขที่มีความทันสมัย อีกทั้งการเปลี่ยนเเปลงด้านเทคโนโลยี ที่รวดเร็วทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ที่รวดเร็วทำให้เกิดการเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรมง่ายขึ้น ทำให้วัฒธรรมการกินอยู่ ของสังคมไทยเกิดการเปลี่ยนเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว การเข้าถึงบริการของรัฐยามเจ็บป่วยของประชาชนที่เสมอภาคและเท่าเทียมกัน ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทำให้สถานภาพด้านสุขภาพและแบบแผนพฤติกรรมการเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนไป ดังจะเห็นได้จากการเจ็บป่วยด้วย โรคตดต่อที่เกิดจากตัวเชื้อโรค สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและวุขวิทยาส่วนบุคคลมีแนวโน้มลดลง แต่การเจ็บป่วยด้วยโรคที่ไม่ติดต่ออันเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น เช่น โรค อ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและอุบัติเหตุ ที่มีอัตราการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นและเป็นสาเหตุ การตายในอันดับต้นๆ ของประเทศ   นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ที่เป็นโรคโดยไม่ได้รับการคัดกรองและไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคมาก่อน ยังมีจำนวนมากซึ่งบ่งชี้ถึงปัญหาของการคดกรองที่ไม่ครอบคลุม ทำให้ประชาชนขาดโอกาสในการได้รับการคัดกรอง และการเฝ้าระวังโรค การได้รับคำแนะนำในการป้องกันโรค รวมถึงปัญหาในกลุ่มผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับการรักษา ซึ่งเป็นปัญหาด้านการควบคุมโรค การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการลดอัตราการตาย กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชากรกลุ่มเป้าหมายในเเต่ละพื้นที่ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรค และภาวะแทรกซ้อน นอกจากนี้ยังมีนโยบายจัดกิจกรรม 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และกิจกรรม 2 ส. คือ งดสุรา และบุหรี่ เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดี และลดอุบัติการณ์การเกิดโรค   ปี 2565 มีประชาชนที่อายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบรพ.สต.เกาะสะท้อน จำนวน 1,486 คน ได้ับการตรวจคัดกรองจำนวนทั้งหมด 1,421 คน คิดเป็นร้อยละ 95.63 พบประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 134 คน คิดเป็นร้อยละ 11.16 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 61 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 324 คน คิดเป็นร้อยละ 22.80 ป่วยเป็นโรคเบาหวาน 30 คน และกลุ่มป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 61 คน   จากปัญหาดังกล่าวหากได้มีการตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น และประชาชน ยอมรับและปรับพฤติกรรม กิน การอยู่จะช่วยลดการป่วย และการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคอื่นๆ ที่จะตามมาได้เป็นอย่างมาก เพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยและป้องกันโรคในกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤตืกรรมทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วย 3 อ. 2 ส. ได้เเก่ การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการเกี่ยวกับอารมณ์ และการลดการสูบบุหรี่ สิ่งมึนเมา อันจะส่งผลดีต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่จึงได้จัดทำ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการคัดกรองและพบภาวะเสี่ยงหรือป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรค
  3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบว่าป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเเกนนำสุขภาพประจำครอบครัว
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 3.กลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะสุขภาพที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค ร้อยละ 95

 

2 เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการคัดกรองและพบภาวะเสี่ยงหรือป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ที่ได้รับการคัดกรองและพบภาวะเสี่ยงหรือป่วยได้รับความรู้ทักษะและพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันและควบคุมโรค ร้อยละ95

 

3 เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบว่าป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มป่วยได้รับการตรวจวินิจฉัยโดยเพทย์และได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการคัดกรองและพบภาวะเสี่ยงหรือป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรค (3) เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบว่าป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเเกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2481-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปิยุกฤษฏ์ ทองบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด