กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ


“ โครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮานินะฮ์ ยือแร

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2999-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในชมรมได้ตระหนักถึงโทษของ อบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกัน ตนเองได้ (2) เพื่อให้นักเรียนในชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถ แก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความภาคภูมิใจ (3) นักเรียน มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและ ครอบครัว (4) นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย. น้อยทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5) นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบ เหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการประเมินเด็กวัยเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงเรียนบ้านกระเสาะ พบว่า ส่วนใหญ่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ แสดงให้รู้ว่า ผู้ปกครองเด็กวัยนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของอาหารที่เหมาะสมกับวัย การเลือกซื้ออาหาร รวมไปถึง วิธีการล้างผักและการจัดการกับอาหารอื่นๆ ให้ปลอดสารพิษ ส่งผลให้เด็กวัยนี้ขาดสารอาหาร รวมถึง สถานการณ์ที่ผ่านมาในแต่ละปีประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากอุบัติเหตุทางน้ำ ในอัตราที่สูงมาก ชุมชนบ้านกระเสาะมีเด็กเกิดอุบัติเหตุทางน้ำและเสียชีวิต เนื่องจากในพื้นที่ดังกล่าวมีแหล่น้ำ ที่เด็กสามารถลงเล่นน้ำได้ อีกทั้งในช่วงฤดูฝนจะมีน้ำท่วมชังในระดับสูง โดยเด็กและผู้ปกครองไม่ตระหนักถึง อันตรายของการเล่นน้ำและไม่รู้วิธีช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น เมื่อเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ ดังนั้นโรงเรียนบ้านกระ เสาะจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัย เลือกรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และมีความปลอดภัยในชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนในชมรมได้ตระหนักถึงโทษของ อบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกัน ตนเองได้
  2. เพื่อให้นักเรียนในชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถ แก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
  3. นักเรียน มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและ ครอบครัว
  4. นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย. น้อยทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบ เหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 172
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สมาชิกชมรมตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้
    2. สมาชิกชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
    3. นักเรียน มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
    4. นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย.น้อยทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5. นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-15 กรกฎาคม 2566 - กิจกรรมว่ายน้ำเพื่อชีวิต (Swimming For Life)
    - กิจกรรมแกนนำ To be number one - กิจกรรม อบรฒแกนนำ อย.น้อย
    ผลการดำเนินงาน 1.นักเรียนได้ตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้ร้อยละ 80 2.นักเรียนในชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยด้วยความภาคภูมิใจ ร้อยละ 80 3.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและป้องกัน Covid-19 ร้อยละ 80 จุดเด่น (จุดแข็ง) ของโครงการในครั้งนี้ -นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการป้องกันและต่อต้านยาเสพติด ของวัยรุ่นในสถานศึกษาซึ่งสอดคล้องกัสบการจัดการศึกษาของโรงเรียนในปัจจุบัน และส่งเสริมให้นักเรียนมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม -นักเรียนมีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง -นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียนในชมรมได้ตระหนักถึงโทษของ อบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกัน ตนเองได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้ตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุก ประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้ร้อยละ 80
    0.00 50.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนในชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถ แก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนในชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความ ภาคภูมิใจ ร้อยละ 80
    0.00

     

    3 นักเรียน มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและ ครอบครัว
    ตัวชี้วัด : นักเรียน มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือก ซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว ร้อยละ 80
    0.00

     

    4 นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย. น้อยทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย.น้อยทั้งใน โรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 80
    0.00

     

    5 นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบ เหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ ได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล ร้อยละ 80
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 172 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 172 50
    กลุ่มวัยทำงาน 0
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในชมรมได้ตระหนักถึงโทษของ อบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกัน ตนเองได้ (2) เพื่อให้นักเรียนในชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถ แก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความภาคภูมิใจ (3) นักเรียน มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและ ครอบครัว (4) นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย. น้อยทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5) นักเรียนมีทักษะและรู้จักวิธีช่วยเหลือผู้ประสบ เหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด

    รหัสโครงการ 66-L2999-02-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮานินะฮ์ ยือแร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด