กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ


“ โครงการครอบครัวสดใส ใส่ใจวัยรุ่น ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์หมัด หีมเหม

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวสดใส ใส่ใจวัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L8367-01-02 เลขที่ข้อตกลง 7/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวสดใส ใส่ใจวัยรุ่น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสดใส ใส่ใจวัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวสดใส ใส่ใจวัยรุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L8367-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางพัฒนาการต่างๆหลายๆด้านพร้อมๆกัน ทำให้เกิดปัญหาในการปรับตัวค่อนข้างสูง วัยรุ่นที่สามารถปรับตัวได้ดีก็จะผ่านช่วงวัยนี้ไปได้สำเร็จ ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายเกิดจากฮอร์โมนไปกระตุ้นให้เกิดการแสดงออกทางเพศ  ที่ชัดเจนขึ้น วัยรุ่นชายหญิงมีความสนใจในเพศตรงข้ามมากขึ้น และพร้อมเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ พัฒนาการทางด้านจิตใจ วัยรุ่นมีความเป็นตัวตนสูง แสวงหาเอกลักษณ์ของตนเอง เป็นวัยที่อยากรู้ อยากลอง อยากเห็น รักความเป็นอิสระ ทำให้วัยรุ่นสนใจและอยากรู้ อยากลองเรื่องเพศ เกิดการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นทำให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์และการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ตามมา ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในจังหวัดสงขลาจากสถิติ (HDC จังหวัดสงขลา ) มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ย้อนหลังใน 3 ปี 2563 - 2565 มีจำนวน 1057, 760 และ 793 คน สถิติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอำเภอจะนะย้อนหลัง 3 ปี 2563-2565 มีจำนวน 29 , 24 และ 20 คน
ซึ่งการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นเกิดปัญหาต่อตัววัยรุ่นเอง ทั้งการดูแลทารกในครรภ์ การเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ปัญหาการเรียน ปัญหาครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันแรกที่สร้างภูมิคุ้มกันและให้ความรู้เรื่องเพศแก่วัยรุ่น แต่สังคมไทยไม่เปิดรับการพูดคุยเรื่องเพศในครอบครัว ทำให้วัยรุ่นขาดที่ปรึกษาเมื่อมีปัญหาเรื่องเพศ และรับคำปรึกษาในทางที่ผิดจากเพื่อน หรือสื่อต่างๆ ทำให้ปัญหายิ่งบานปลาย เช่น การทำแท้ง การตั้งครรภ์ปกปิด การหนีออกจากบ้าน และอื่นๆ     ดังนั้นครอบครัวจึงเป็นหน่วยพื้นฐานทางสังคมที่สำคัญในการดูแลวัยรุ่นให้พัฒนา เติบโตขึ้นมาเป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศ แต่ด้วยสภาพสังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างรวดเร็ว เช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสารที่เข้าถึงเรื่องเพศได้ง่ายขึ้น รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงลักษณะครอบครัว จากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยวและครอบครัว พ่อหรือแม่เลี้ยงเดี่ยวมากขึ้น ส่งผลให้การดูแลลูกวัยรุ่นสำหรับพ่อแม่ผู้ปกครองต้องเผชิญความยุ่งยากมากขึ้น พ่อแม่ผู้ปกครองจึงต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยต้องมีความเข้าใจตนเอง มีทักษะในการจัดการอารมณ์และความเครียดของตนเอง รวมทั้งต้องมีทักษะในการรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกวัยรุ่น เพื่อประคับประคองลูกวัยรุ่นสู่ลูกวัยผู้ใหญ่ได้อย่างเหมาะสม และกล้าให้วัยรุ่นกล้าพูดคุยเรื่องเพศในครอบครัวมากยิ่งขึ้น เพื่อลดปัญหาทางเพศของวัยรุ่นให้น้อยลง และวัยรุ่นมีทางออกจากปัญหาดังกล่าวได้ถูกต้อง ปลอดภัย มากยิ่งขึ้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองที่มีบุตรวัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของวัยรุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เหมาะสมกับวัยรุ่น
  2. 2. เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
  3. 3. เพื่อลดปัญหาเรื่องเพศในวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. พ่อแม่/ผู้ปกครองที่มีบุตรวัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลบุตรหลานวัยรุ่นได้อย่าง ถูกต้อง
    2. ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง
    3. ปัญหาเรื่องเพศในวัยรุ่นลดลงและได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองที่มีบุตรวัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของวัยรุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เหมาะสมกับวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : 1.พ่อแม่/ผู้ปกครองที่มีบุตรวัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลบุตรหลานวัยรุ่นได้อย่างถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80

     

    2 2. เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : 2.การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นไม่เกินร้อยละ 5

     

    3 3. เพื่อลดปัญหาเรื่องเพศในวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : 3.ปัญหาเรื่องเพศได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้องเหมาะสมมากกว่าร้อยละ 70

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองที่มีบุตรวัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของวัยรุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เหมาะสมกับวัยรุ่น (2) 2. เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (3) 3. เพื่อลดปัญหาเรื่องเพศในวัยรุ่น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการครอบครัวสดใส ใส่ใจวัยรุ่น จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L8367-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายแพทย์หมัด หีมเหม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด