กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเพื่อเปลี่ยน เลี่ยงโรคเรื้อรัง โดยชุมชนมีส่วนร่วม
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการพัฒนาสตรี ต.ปูยุด
วันที่อนุมัติ 30 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 49,010.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอมละ ราโมง
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.ซูมัยยัมส์ กะลูแป
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ความดันโลหิตสูง เป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงความดันในหลอดเลือดที่สูงขึ้น และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกองโรคไม่ติดตอ กรมควบคุมโรครายงานว่า ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า ประเทศไทยมีอัตราป่วย 2,138 คนต่อประชากรแสนคน (กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2562)สำหรับจังหวัดปัตตานีมีอัตราป่วยความดันโลหิตสูง พ.ศ. 2561-2563 เท่ากับ 8,516, 8,970 และ 8,978 คนต่อแสนประชากรตามลำดับ โดยอำเภอเมืองของจังหวัดปัตตานีมีอัตราป่วยความดันโลหิตสูงพ.ศ. 2561-2563 เท่ากับ 7,950, 8,207 และ 8,504 คนต่อประชากรแสนคนตามลำดับ และตำบลปูยุดมีอัตราป่วยความดันโลหิตสูงพ.ศ. 2561-2563 เท่ากับ 6,612, 6,950 และ 7,178 คนต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ในส่วนบ้านรามงมีอัตราป่วย โรคความดันโลหิตสูง พ.ศ. 2561-2563 เท่ากับ 4,833, 5,430 และ 5,892 คนต่อประชากรแสนคนตามลำดับ (ฐานข้อมูลHDCสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี วันที่1ตุลาคม 2563) จากข้อมูลพบได้ว่า แนวโน้มมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในทุกๆปีซึ่งโรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบ และเป็นปัญหาสุขภาพสำคัญที่คุกคามประชากรไทย ซึ่งหากกลุ่มป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยแล้ว ต้องได้รับการการรักษาอย่างต่อเนื่อง ทําให้ประเทศต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจํานวนมาก ร่วมทั้งทําให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแย่ลง(กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2562)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในกลุ่มปกติร้อยละ 40 %

0.00
2 เพื่อลดการเกิดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงสูง

 

0.00
3 เพื่อควบคุมความดันโลหิตในกลุ่มกลุ่มเสี่ยงสูง ละระดับน้ำตาลในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 49,010.00 0 0.00
31 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 1. ขั้นเตรียมการ -เตรียมข้อมูลประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่ 1 ปีงบประมาณ 2566 ที่เข้าร่วมโครงการ-ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมตามโครงการ 0 3,690.00 -
31 มี.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 2.ขั้นดำเนินงาน ดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามหลัก 3 อ 2 ส 1 น จำนวน 4 ครั้ง 0 45,320.00 -
31 มี.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 ขั้นประเมินผล 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปีงบประมาณ 2566 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มคุณภาพชีวิต

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2566 00:00 น.