กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการ TO BE วัยใส พร้อมใจป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ์ ทวีโชติ

ชื่อโครงการ โครงการ TO BE วัยใส พร้อมใจป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-1008 เลขที่ข้อตกลง 012/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ TO BE วัยใส พร้อมใจป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ TO BE วัยใส พร้อมใจป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ TO BE วัยใส พร้อมใจป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-1008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนถือเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคตแต่ในสภาพสังคมไทยปัจจุบันมีปัจจัยหลายด้านที่ส่งผลกระทบที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กและเยาวชนไทย เช่นการทะเลาะวิวาท การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การมั่วสุมทางเพศ การติดเกมออนไลน์ สารเสพติด อบายมุข เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีสิ่งกระตุ้นยั่วเย้าทางด้านวัตถุนิยมและสิ่งมอมเมาให้เยาวชนหลงใหลคลั่งไคล้ในการบริโภคนิยม ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรหรือการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน/การมั่วสุมทางเพศถือเป็นปัญหาขั้นวิกฤตของเด็กและเยาวชนในวัยเรียนที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและป้องกันอย่างเร่งด่วนในขณะนี้ซึ่งนับเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดปัญหาหนึ่งที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรหรือการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน การมั่วสุมทางเพศเกิดจากการที่เด็กและเยาวชนมีค่านิยมทางเพศที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งค่านิยมทางเพศหมายถึง แนวความคิด พฤติกรรมในเรื่องเพศ ซึ่งสมาชิกในสังคมใดสังคมหนึ่งเห็นว่ามีคุณค่าจึงยอมรับมาปฏิบัติตามและหวงแหนไว้ ระยะหนึ่งค่านิยมอาจเปลี่ยนไปตามกาลสมัยและความคิดของสมาชิกในสังคม ซึ่งในปัจจุบันสังคมและวัฒนธรรมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลโครงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การไหลบ่าของวัฒนธรรมต่างประเทศและการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อค่านิยมทัศนคติของเด็กและเยาวชนเป็นอย่างมาก

สถานการณ์ปัญหา
1. ปัญหาเด็กวัยรุ่น 10-19 ปี ในตำบลบ้านนามีการตั้งครรภ์จำนวน 5 ราย ของคนตั้งครรภ์ในวัยรุ่นทั้งหมด 9 ราย ของอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 55.55

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ
  2. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและค่านิยมที่ถูกต้องเรื่องเพศศึกษา
  3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมที่ 2 ติดตามและประเมินผล
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน
  4. ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. วันรุ่นมีทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  2. ร้อยละของการตั้งครรภ์ในหญิงวัยรุ่น น้อยกว่า 42 ต่อพันประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำแผนโครงการ/แผนปฏิบัติงานกำหนดตารางการดำเนินโครงการ
2.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์การดำเนินโครงการ
3.จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่น
4.สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนโรงเรียนวัดบ้านนา จำนวน 50 คน
นักเรียนโรงเรียนบ้านนาวง จำนวน 40 คน
ผลลัพธ์
1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถเข้าใจได้ง่าย มีความสนุกสนานและมีสาระ
2.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ดี และมีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ
3.นักเรียนในพื้นที่เข้าถึงการใช้บริการยาฝังคุมกำเนิดมากขึ้น
4.ร้อยละของการตั้งครรภ์ในหญิงวัยรุ่น น้อยกว่า 42 ต่อพันประชากรหญิง อายุ 15-19 ปี

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชน (อายุต่ำกว่า 20 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ ลดลง
13.50 13.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและค่านิยมที่ถูกต้องเรื่องเพศศึกษา
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ (2) เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและค่านิยมที่ถูกต้องเรื่องเพศศึกษา (3) เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามและประเมินผล (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน (4) ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ TO BE วัยใส พร้อมใจป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-1008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ์ ทวีโชติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด