กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หาดสำราญ


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอินทุอร ทองเอียบ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1544-01-010 เลขที่ข้อตกลง 010/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 1 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หาดสำราญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1544-01-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 1 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หาดสำราญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านจิตใจผู้สูงอายุในชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน โดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากภาวะเสื่อมทางร่างกายของผู้สูงอายุ จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ทำให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติทั่วไป และมักจะไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางสาธารณสุข ส่งผลให้ขาดการดูแล รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม มีผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล จากผลการดำเนินงานผู้สูงอายุที่ผ่านมาในเขตรับผิดชอบเครือข่ายอำเภอหาดสำราญ ทำให้ทราบถึงปัญหาในการเข้าถึงบริการเสริมสร้างและฟื้นฟูสมรรถภาพ และขาดการรับทราบข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ขาดโอกาสในการสร้างเสริมและฟื้นฟูสภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตัวเองได้ดี จากการสำรวจพบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบเครือข่ายอำเภอหาดสำราญ มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและของครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ การเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดขา โรคกระเพาะ โรคติดต่อ และปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาสุขภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่าย และด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัว เมื่อเกิดการเจ็บป่วย พบว่าครอบครัวส่วนใหญ่จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี นอกจากนี้ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลผู้สูงอายุ การดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาล    ในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องนี้อาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้น ทั้งๆที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้ ด้วยเหตุนี้ หากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ มีระบบการเฝ้าระวังดูแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น อำเภอหาดสำราญมีผู้สูงอายุจำนวน 2,347 คน แบ่งเป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม 2,301 คน ผู้สูงอายุที่ติดบ้านจำนวน 33 คน และผู้สูงอายุติดเตียง จำนวน 13 คน  ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่มีบริการด้านต่างๆ ยังเข้าไปไม่ถึง แต่เนื่องจากยังคงมีองค์กรต่างๆ ในชุมชนอีกมากมาย หากมีการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้ จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้สูงอายุในชุมชน ดังนั้นเครือข่ายอำเภอ    หาดสำราญ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพผู้สูงอายุรวมทั้งผลกระทบที่จะตามมา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ญาติหรือผู้ดุแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ มีทักษะ สามารถให้การดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องและมีศักยภาพ 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ลดภาวะซึมเศร้าได้ 3.สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีเครือข่ายและระบบการดูแลผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ และมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ครอบครัวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น  ลดภาวะพึ่งพิง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1544-01-010

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอินทุอร ทองเอียบ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด