กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตำรวจยุง ประจำปี 2566 ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตำรวจยุง ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1497-02-08 เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 10 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตำรวจยุง ประจำปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตำรวจยุง ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตำรวจยุง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1497-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 10 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญ ของประเทศไทยและประเทศในแถบเอเชีย มาช้านาน เนื่องจากโรคนี้ยุงลายเป็นพาหะนําโรค ซึ่งสามารถพบได้ทั่วไปโดยเฉพาะบริเวณที่มีแหล่งน้ําขัง มีแนวโน้ม การระบาดสูงในช่วงฤดูฝนและมีความรุนแรงของโรคเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ปัจจุบัน พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกได้ทั้งใน เด็กและผู้ใหญ่ ทําให้เกิดผลเสียต่อทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ เนื่องจากรัฐจะต้องเข้ามา บริหารจัดการทั้งในด้านการควบคุมป้องกันโรค และการรักษาพยาบาลเมื่อมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้น ซึ่งในแต่ละปี ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณ ไปกับการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นจํานวนมาก จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จานวน ๓,๕๕๕ ราย อัตราป่วย ๕.๘๓ ต่อแสนประชากร มีรายงาน ผู้เสียชีวิต จานวน ๑ ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ ๐.๐๓ สถานการณ์ของเขตสุขภาพที่ ๑๒ มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จํานวน ๔๙๘ ราย อัตราป่วย ๙.๙๗ ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต จังหวัดตรังมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จํานวน ๓๐ ราย อัตราป่วย ๔.๗๐ ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต แนวโน้มการระบาดของโรคเป็น แบบระบาด ๒ ปี เว้น ๑ ปี อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกรายอําเภอปี ๒๕๖๖ ในพื้นที่จังหวัดตรัง พบว่า อําเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด คืออําเภอหาดสาราญ อัตราป่วย ๓๕.๕๖ ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออําเภอสิเกา อัตราป่วย ๑๐.๔๑ ต่อแสนประชากร และอําเภอวังวิเศษ อัตราป่วย ๙.๑๙ ต่อแสนประชากร อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จําแนกตามกลุ่มอายุปี ๒๕๖๖ ในพื้นที่จังหวัดตรัง พบว่า กลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยสูงที่สุดคือ กลุ่มอายุ ๑๐-๑๔ ปี อัตราป่วย ๑๖.๒๗ ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ กลุ่มอายุ ๑๕-๒๔ ปี อัตราป่วย ๑๐.๗๓ ต่อแสนประชากร และกลุ่มอายุ ๕-๙ ปี อัตราป่วย ๑๐.๕๒ ต่อแสน ประชากร สําหรับตําบลนาโยงใต้ จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.๕๐๖) ตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม – ๓๑ ธันวาคม ๑ – ๒๕๖๕ มีผู้ป่วยไข้เลือดออกจํานวน 5 ราย อัตราป่วย ๑๔๙.๓๖ ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต และในปี ๒๕๖๖ ยังไม่พบผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จากปัญหาดังกล่าว จะเห็นได้ว่ากลุ่มเด็กวัยเรียน เป็นกลุ่มที่มีอัตราการป่วยสูงที่สุด เป็นกลุ่มที่อยู่ ในสถานศึกษา และสามารถเป็นกําลังสําคัญในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ หากได้รับการอบรมและพัฒนาศักยภาพ ในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (ชมรม อสม.) ตําบลนาโยงใต้ จึงได้ จัดทําโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตํารวจยุง ประจําปี ๒๕๖๖ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน
  3. เพื่อให้แกนนำนักเรียนสามารถสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และรายงานผลการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมนักเรียนตำรวจยุง
  2. สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนํานักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. มีเครือข่ายควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน และชุมชน
  3. แกนนํานักเรียนสามารถสํารวจ ทําลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ํายุงลาย และรายงานผลการดําเนินงานได้ถูกต้อง
  4. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : แกนนำนักเรียนตำรวจยุงมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 100

 

2 เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีกลุ่มแกนนำนักเรียน ตำรวจยุง และได้รับการพัฒนาศักยภาพประจำปี

 

3 เพื่อให้แกนนำนักเรียนสามารถสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และรายงานผลการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มนักเรียนตำรวจยุง สามารถสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และรายงานผลได้ถูกต้อง ร้อยละ 100

 

4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลนาโยงใต้ลดลง เหลือไม่เกิน 50.0 ต่อประชากรแสนคน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน (3) เพื่อให้แกนนำนักเรียนสามารถสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และรายงานผลการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมนักเรียนตำรวจยุง (2) สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนักเรียนตำรวจยุง ประจำปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1497-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด