กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะนำโรคในตำบลบ้านนา ประจำปี 2566
รหัสโครงการ L3363-2566-2004
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัคร SRRT ตำบลบ้านนา
วันที่อนุมัติ 15 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2566 - 31 ตุลาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2566
งบประมาณ 61,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธีรพร แก้วสม
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอรวรรณ จันทรธนู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันได้มีการเกิดโรคระบาดที่นำโดยแมลงเป็นพาหะนำโรคอย่างแพร่หลาย เช่น โรคให้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญที่มีการระบาดอย่างรุนแรงและมีแนวโน้มสูงขึ้น จากรายงานการเฝ้าระวังของกองระบาดวิทยาพบว่ายุ่งสามารถแพร่พันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคติดต่อที่นี่มียุงเป็นพาหะมีตลอดทั้งปี ฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานผู้รับผิดชอบในพื้นที่จะต้องเร่งหาแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะมีให้มีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆ ภาคส่วน ทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ เอกชน รวมทั้งประชาชนทุกครัวเรือนในเขตพื้นที่ตำบลบ้านนา
    ชมรมอาสาสมัคร SRRT ตำบลบ้านนา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะนำโรคในตำบลบ้านนาประจำปี 2566 เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพทยระบาดของโรคที่นำโดยแมลงเป็นพาหะในชุมชน และเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันการควบคุมโรค และตระหนักถึงภัยร้ายของลูกอันส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)

60.00 50.00
2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะนำโรคของประชาชนในพื้นที่

ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยที่เกิดโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะ

50.00
3 เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ร้อยละ 50 ของประชาชนสามารถจัดสุขาภิบาลครัวเรือนได้อย่างต่อเนื่อง

60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66
1 กิจกรรมที่ 1 พ่นหมอกควันป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในบริเวณสถานศึกษา สถานที่ราชการ วัด(1 เม.ย. 2566-31 ต.ค. 2566) 11,200.00              
2 กิจกรรมที่ 2 พ่นหมอกควันป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในพื้นที่ที่เกิดโรครัศมี 100 เมตร(1 เม.ย. 2566-31 ต.ค. 2566) 50,600.00              
3 กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ในพื้นที่สาธารณะ(1 เม.ย. 2566-31 ต.ค. 2566) 0.00              
รวม 61,800.00
1 กิจกรรมที่ 1 พ่นหมอกควันป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในบริเวณสถานศึกษา สถานที่ราชการ วัด กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 7 11,200.00 1 11,200.00
1 เม.ย. 66 - 31 ต.ค. 66 พ่นหมอกควันป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในบริเวณสถานศึกษา สถานที่ราชการ วัด 7 11,200.00 11,200.00
2 กิจกรรมที่ 2 พ่นหมอกควันป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในพื้นที่ที่เกิดโรครัศมี 100 เมตร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 50,600.00 1 14,600.00
1 เม.ย. 66 - 31 ต.ค. 66 กิจกรรมพ่นหมอกควันป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะ ในพื้นที่ที่เกิดโรครัศมี 100 เมตร 15 50,600.00 14,600.00
3 กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ในพื้นที่สาธารณะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 0.00 1 0.00
1 เม.ย. 66 - 31 ต.ค. 66 กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ในพื้นที่สาธารณะ 15 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะนำโรคของประชาชนในพื้นที่ลดลงร้อยละ 50
  2. สามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นพาหะนำโรคเพิ่มขึ้นร้อยละ 60
  3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2566 14:52 น.