กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใยแม่และเด็ก ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีซะ บาราเฮง




ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใยแม่และเด็ก

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4131-01-05 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใยแม่และเด็ก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใยแม่และเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใยแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นสิ่งที่สำคัญและมีประโยชน์ในทางสูติศาสตร์ หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มาฝากครรภ์ไม่ได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะมีโอกาสเกิดภาวะเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดมากกว่า และรุนแรงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจครรภ์ และดูแลครรภ์อย่างถูฏต้องและต่อเนื่องสม่ำเสมอ ภาวะเสี่ยงต่างๆ อาจมีระดับของอันตรายถึงชีวิตของมารดาหรือทารกได้ หากหญิงตั้งครรภ์ไม่ได้รับการดูแลครรภ์จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตั้งแต่อายุครรภ์ยังน้อยและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ รวมไปถึงสามีและญาติผู้อยู่ใกล้ชิดกับหญิงตั้งครรภ์ได้รับข้อมูลที่มีประโยชน์เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์ ก็จะสามารถดูฉลหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ล่าช้าและผลเลือดที่เจาะคัดกรองมีผลปกติในบางตัว เช่น การติดเชื้อ HIV หากไม่ได้รับประทานยาต้านเชื้อแต่เนินๆ เชื้อก็สามารถแพร่กระจายไปยังลูกในครรภ์ได้ หรือภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ตลอดจนภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นขณะคลอด และหลังคลอด เช่น ภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ ภาวะเด็กดิ้นผอดปกติ ภาวะเลืดออกทางช่องคลอด ภาวะคลอดยาก และภาวะตกเลือดหลังคลอด ปัญหาเหล่านี้หากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลกระทบถึงคุณภาพชีวิตของมารดาและทารก ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอด รวมไปถึงพัฒนาการของเด็กหลังคลอด และรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ในการนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ ได้ให้ความสำคัญปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใย ใส่ใจคุณภาพมารดาและทารก เพื่อหญิงตั้งครรภ์และบุตรมีคุณภาพและจำเป็นอย่างยิ่งที่หญิงตั้งครรภ์และทุกคนที่เกี่ยวข้องที่จะต้องรับรู้เกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองและบุตรเมื่อคลอดอย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำในชุมชน สำหรับดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบให้เข้าถึงการรับบริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำหญิงวัยเจริญพันธ์ในชุมชนให้มีความรู้ในการวางแผนการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมสู่การตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ดูแลสุขภาพตัวเองในขณะตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย, ติดตามและประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้และทักษะในการให้คำแนะนำการมาฝากครรภ์คุณภาพในหญิงตั้งครรภ์แต่ละช่วงอายุ
  2. แกนนำหญิงวัยเจริญพันธ์ในชุมชนมีความรู้และสามารถถ่ายทอดประสบการณ์การตั้งครรภ์คุณภาพให้แก่หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมั่นใจ
  3. หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้เรื่องโรงเรียนพ่อแม่อยู่ในระดับดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย, ติดตามและประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการ

วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ และมีทักษะในการเป็นแกนนำ ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ได้

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำในชุมชน สำหรับดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบให้เข้าถึงการรับบริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำหญิงวัยเจริญพันธ์ในชุมชนให้มีความรู้ในการวางแผนการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมสู่การตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ดูแลสุขภาพตัวเองในขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมไอโอดีนและได้รับการประเมินภาวะโภชนาการทุกราย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำในชุมชน สำหรับดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบให้เข้าถึงการรับบริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำหญิงวัยเจริญพันธ์ในชุมชนให้มีความรู้ในการวางแผนการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมสู่การตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ดูแลสุขภาพตัวเองในขณะตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย, ติดตามและประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลห่วงใยแม่และเด็ก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4131-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสารีซะ บาราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด