กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม


“ โครงการ สำนักขาม รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิรัตน์สร ชุมแสง/นางสาววัชรกุล พวงแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการ สำนักขาม รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5251-1-05 เลขที่ข้อตกลง 9/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สำนักขาม รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สำนักขาม รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ สำนักขาม รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5251-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัญหาขยะเปียก เริ่มกลายเป็นประเด็นใหญ่ทั่วโลกที่ทุกประเทศกำลังร่วมมือกันในการ  ลดการสร้างขยะจากอาหาร อาหารเน่าเสียและถูกทิ้ง สร้างมลพิษที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการสร้างแก๊สเรือนกระจก เช่น แก๊สมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ ในขณะที่ประเทศไทยก็พบปัญหานี้เช่นกัน โดยขยะเปียกคิดเป็น 64% ของขยะทั้งหมด จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งขยะส่วนใหญ่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ได้น้อย เนื่องจากการแยกขยะที่ไม่ถูกต้อง การจัดการขยะที่ใช้การฝังกลบรวม และไม่มีระบบจัดการที่ถูกสุขาภิบาล ขยะเปียกจากอาหารที่เหลือจากการบริโภคทั้งในครัวเรือน  อาหารที่เหลือจากการจำหน่ายในร้านค้า ขยะที่สร้างขึ้นในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม จากกระบวนการผลิตที่มีวัตถุดิบเหลือใช้ และการจัดเก็บวัตถุดิบที่ไม่ดีทำให้เกิดการเน่าเสีย แม้ปริมาณต่อคนจะไม่มาก แต่ถ้าทุกคนพากันทิ้ง ไม่มีการคัดแยก ไม่มีการจัดการที่ดีเพียงพอ ขยะอาหารที่เป็นของธรรมดาๆ ก็ก่อให้เกิดผลกระทบลูกโซ่อย่างใหญ่หลวงได้ไม่ยาก  ไม่ว่าจะเป็นโรคภัยที่เกิดจากการกำจัดขยะที่ไม่ถูกวิธี เช่น โรคท้องร่วง ปวดท้อง ปวดศีรษะ ภูมิแพ้ โรคเกี่ยวกับทางเดินอาหารอื่นๆ ที่เกิดจากสิ่งสกปรกและแบคทีเรียจากการสะสมของขยะ เพียงแค่ก๊าซที่เกิดจากการหมักตัวของขยะมูลฝอยก็ส่งผลให้เกิดอาการเวียนหัวอาเจียนได้แล้ว การขยายตัวของพาหะนำโรคเช่นหนู และแมลงวัน จากกองขยะอาหารที่ไม่ได้ถูกกำจัด ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นตามปริมาณของการย่อยสลายขยะ ปริมาณขยะโดยรวมที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากขยะปกติบางประเภทที่สามารถรีไซเคิลได้เมื่อมีการปนเปื้อนขยะอาหารในปริมาณมากก็ไม่สามารถที่จะนำมารีไซเคิลใหม่ได้  จำเป็นต้องเข้ากระบวนการกำจัด กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้มอบนโยบายการดำเนินโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2562 โดยให้ส่งเสริมสนับสนุนการจัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ให้ครบทุกครัวเรือน รวมศึกศูนย์เด็กเล็กและสถานศึกษาในสังกัด เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือน ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่นๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยที่ได้จากการหมักขยะเปียก ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลสำนักขามได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการจัดการขยะเปียกและเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของกรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย และนโยบายจังหวัดสงขลา จึงได้จัดทำ โครงการ“สำนักขาม” รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหาขยะ ร่วมกันคัดแยกขยะในครัวเรือน
  2. 2. เพื่อขับเคลื่อนและขยายเครือข่ายการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
  3. 3. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  2. 2.กิจกรรมการประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
  3. 3.กิจกรรมให้ความรู้การจัดทำถังขยะเปียกในชุมชน
  4. 4.ภาคปฏิบัติการดำเนินการจัดทำถงขยะเปียกในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการแยกขยะจากต้นทาง   2. ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเกิดการเรียนรู้กระบวนการหมักขยะอินทรีย์ให้เป็นปุ๋ยและร่วมกันจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหาขยะ ร่วมกันคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการให้ความรู้การจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน ร้อยละ 80 ของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้านเทศบาลตำบลสำนักขาม

 

2 2. เพื่อขับเคลื่อนและขยายเครือข่ายการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนมีการดำเนินการครบ 1,400 ครัวเรือน

 

3 3. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ประชาชนร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องถังขยะเปียกครัวเรือน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหาขยะ ร่วมกันคัดแยกขยะในครัวเรือน (2) 2. เพื่อขับเคลื่อนและขยายเครือข่ายการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน (3) 3. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) 2.กิจกรรมการประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ (3) 3.กิจกรรมให้ความรู้การจัดทำถังขยะเปียกในชุมชน (4) 4.ภาคปฏิบัติการดำเนินการจัดทำถงขยะเปียกในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ สำนักขาม รวมใจลดขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5251-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิรัตน์สร ชุมแสง/นางสาววัชรกุล พวงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด