กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง


“ โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคปวดกล้ามเนื้อด้วยการใช้ลูกประคบสมุนไพร ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาลี คงนคร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคปวดกล้ามเนื้อด้วยการใช้ลูกประคบสมุนไพร

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1491-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคปวดกล้ามเนื้อด้วยการใช้ลูกประคบสมุนไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคปวดกล้ามเนื้อด้วยการใช้ลูกประคบสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคปวดกล้ามเนื้อด้วยการใช้ลูกประคบสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1491-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยในปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่งแก่ผู้รับบริการ กิจกรรมการแพทย์แผนไทยได้แก่ การนวด อบ ประคบสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การปลูกสมุนไพรเพื่อนำมาใช้เอง ซึ่งประโยชน์ของการนวดชนิดต่างๆสามารถบำบัดอาหารปวดเมื่อย ผ่อนคลายความเครียด ปวดหลัง ปวดเอวฯลฯ ลดการใช้ยาเองได้ การอบสมุนไพรช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนให้ดีขึ้น บำบัดโรคภูมิแพ้ ปวดเมื่อน ฯลฯ และการประคบสมุนไพรรช่วยลดการอักเสบฟกชำ้ของกล้ามเนื้อและข้อได้ การส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชนจะเน้นสมุนไพรพื้นบ้าน ที่มีการปลูกกันในแต่ละชุมชน เนื่องจากเกษตรในชุมชน ปลูกพืชสมุนไพรไว้ใช้เองบ้าง และพืชผักสวนครัวไว้กินเอง รวมถึงการปลูกไม้ประดับ ควบคู่กับการทำพืชสวนชนิดอื่นๆการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชน รู้จักสมุนไพร และคุณประโยชน์ของสมุนไพรใกล้ตัวที่มีคุณค่ามากกว่าการใช้บริโภคเพียงอย่างเดียวจึงเกิดขึ้น การส่งเสริมสุขภาพประชาชนด้วยการพึ่งตนเองจึงเน้นการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้น ก่อนโรคภัยไข้เจ็บจะมาถึง ด้วยสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน รวมถึงการแปรรูปสมุนไพรในรูปแบบต่างๆประกอบกับโครงสร้างประชากรในพื้นที่ตำบลนาตาล่วง มีผู้สูงอายุร้อยละ 19 และมีผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 262 คน ซึ่งประชากรในกลุ่มดังกล่าวมักมีปัญหาสุขภาพ เรื่อง ข้อกระดูกและกล้ามเนื้อ ดังนั้น อสม.หมู่ที่ 1 ตำบลนาตาล่วง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง จึงได้จัดทำโครง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
  2. เพื่อส่งเสริมการแปรรูปสมุนไพรให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มผู้สูงอายุได้รับการดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพ เรื่อง ข้อและกล้ามเนื้อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง สมุนไพร และฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร
  2. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง และบริการนวดประคบสมุนไพร ผู้ป่วยติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คนในชุมชนกันมาใช้สมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งมากขึ้น 2.คนในชุมชนรู้จักการนำสมุนไพรในชุมชนมาแปรรูปเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง สมุนไพร และฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ เรื่อง สมุนไพร ฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร และการฝึกนวดแพทย์แผนไทย ให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุตำบลนาตาล่วง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุตำบลนาตาล่วงมีความรู้ ความเข้าใจ  เรื่อง สมุนไพร ฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร และการฝึกนวดแพทย์แผนไทยมากขึ้น

 

20 0

2. กิจกรรมฝึกนวดประคบสมุนไพร

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกนวดประคบสมุนไพรด้วยลูกประคบให้แก่ผู้สูงอายุตำบลนาตาล่วง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุตำบลนาตาล่วงมีทักษาการนวดประคบสมุนไพรด้วยลูกประคบไดด้วยตนเองมากขึ้น

 

26 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจ ด้านการใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพจากสมุนไพรมากขึ้น

 

2 เพื่อส่งเสริมการแปรรูปสมุนไพรให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เข้าใจและสมารถแปรรูปสมุนไพรไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มผู้สูงอายุได้รับการดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพ เรื่อง ข้อและกล้ามเนื้อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยติดเตียงได้รับการนวดประคบสมุนไพรแก้ไขปัญหาข้อติด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมการแปรรูปสมุนไพรให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน (3) เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มผู้สูงอายุได้รับการดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพ เรื่อง ข้อและกล้ามเนื้อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง สมุนไพร และฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร (2) กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง และบริการนวดประคบสมุนไพร ผู้ป่วยติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคปวดกล้ามเนื้อด้วยการใช้ลูกประคบสมุนไพร จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1491-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาลี คงนคร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด