กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย


“ โครงการโรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย ”



หัวหน้าโครงการ
นางนิษฐกานต์ สุวรรณคีรี

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3319-02-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L3319-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนวัดประดู่หอม(สุขประชาสรรค์) เป็นโรงเรียนขยายโอกาสที่จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต 1 ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง เป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในโครงการคอนเน็กช์อีดี โรงเรียนต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ผลิตภัณฑ์จากปลาดุกและกระจูด และโรงเรียนในโครงการต้นกล้าไร้ถัง ตามโครงการโรงเรียนลูกโลกสีเขียว บริษัทซีพีออลล์ จำกัด มหาชน มีแนวความคิดและจุดเน้นของโรงเรียนที่ต้องการปลูกจิตสำนักให้นักเรียน รู้จักใช้ ประหยัดและหวงแหน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีเอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ โรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดภัย จึงจัดทำโครงการ โรงเรียนชุมชนปลอดขยะสิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย ด้วยกิจกรรม 7ส และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การดำเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ และบูรณาการกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คือ ลูกเสือเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะ ให้นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนและคนในชุมชน รักและภาคภูมิใจในโรงเรียนและท้องถิ่นของตน โดยมีแนวทางในการดำเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ด้วยกิจกรรม 7ส สู่โรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดภัย อย่างมีคุณภาพเป็นระบบอย่างยั่งยืน จากการศึกษาสภาพปัญหาเรื่องขยะในโรงเรียนวัดประดู่หอม(สุขประชาสรรค์) และในชุมชนทะเลน้อย ขยะที่พบโดยทั่วไป ได้แก่ ใบไม้ เศษอาหาร กระดาษ ถุงพลาสติก ขวดน้ำพลาสติก กล่องนม ซึ่งมีจำนวนมาก หากไม่มีการจัดการอย่างเป็นระบบจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนและสิ่งแวดล้อม ซึ่งขยะดังกล่าวสามารถจัดการให้เกิดประโยชน์ได้เช่น ใบไม้ ทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ขวดน้ำพลาสติก กระดาษ สามารถคัดแยก และจำหน่ายให้เกิดรายได้แก่นักเรียนชุมชน กล่องนมและโรงเรียนได้จัดการรวบรวมส่งให้บริษัทซีพีออลล์ จำกัด มหาชน นำไปรีไซเคิลเป็นโต๊ะ เก้าอี้นักเรียน ดังนั้นโรงเรียน วัดประดู่หอม(สุขประชาสรรค์) ต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการขยะของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน และเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าว คือการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ สร้างความตระหนัก ปลูกฝัง สร้างจิตสำนึกให้นักเรียน ครู บุคลากรการศึกษาของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียนและคนในชุมชนเกี่ยวกับการจัดการขยะให้ถูกวิธีและยั่งยืน เพราะปัญหาเกี่ยวกับขยะส่งผลเสียต่อสุขภาพ โดยเฉพาะโรคระบาดต่างๆ เช่นโรคไข้เลือดออกและโรคทางเดินหายใจซึ่งเป็นผลมาจากการกำจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะที่ถูกวิธีการดำเนินการกิจการธนาคารขยะโรงเรียนและการแปรรูปน้ำหมักชีวภาพ (นักเรียน ป.4-ม.3 จำนวน 129 คน)
  2. กิจกรรมคัดแยกขยะ ตั้งจุดรวบรวมขยะหน้าอาคารเรียนแต่ละระดับชั้น
  3. ธนาคารขยะโรงเรียนวัดประดู่หอม(สุขประชาสรรค์)
  4. เผยแพร่ประาชาสัมพันธ์เดินรณรงค์แจกเอกสารแผ่นพับ จัดป้ายนิเทศให้ความรู้แก่นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและคนในชุมชนทะเลน้อยเกี่ยวกับการจัดการขยะด้วยหลัก 3 R และกิจกรรม 7ส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 225
กลุ่มวัยทำงาน 775
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน ครู บุคลากรการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนและคนในชุมชนทะเลน้อยมีความรู้วิธีการคัดแยกขยะ และจัดการขยะอย่างถูกวิธี 2.นักเรียน ครู บุคลากรการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนและคนในชุมชนทะเลน้อยมีจิตสำนึกรับผิดชอบสังคม ในด้านการจัดการขยะที่โรงเรียน ที่บ้านและในชุมชนทะเลน้อยมีจิตสำนึกรับผิดชอบสังคม ในด้านการจัดการขยะที่โรงเรียน ที่บ้านและในชุมชน 3.โรงเรียน บ้าน วัดและชุมชนสะอาดปราศจากขยะปลอดโรคปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู น่าอยู่อาศัยและเอื้อแก่การปฏิบัติธรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 225
กลุ่มวัยทำงาน 775
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะที่ถูกวิธีการดำเนินการกิจการธนาคารขยะโรงเรียนและการแปรรูปน้ำหมักชีวภาพ (นักเรียน ป.4-ม.3 จำนวน 129 คน) (2) กิจกรรมคัดแยกขยะ ตั้งจุดรวบรวมขยะหน้าอาคารเรียนแต่ละระดับชั้น (3) ธนาคารขยะโรงเรียนวัดประดู่หอม(สุขประชาสรรค์) (4) เผยแพร่ประาชาสัมพันธ์เดินรณรงค์แจกเอกสารแผ่นพับ จัดป้ายนิเทศให้ความรู้แก่นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและคนในชุมชนทะเลน้อยเกี่ยวกับการจัดการขยะด้วยหลัก 3 R และกิจกรรม 7ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียน ชุมชน ปลอดขยะ สิ่งแวดล้อมดีชีวีปลอดภัย จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3319-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิษฐกานต์ สุวรรณคีรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด