โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางรุสนานี มามุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 - L4138 – 02 - 09 เลขที่ข้อตกลง 018/66
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66 - L4138 – 02 - 09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก โดยพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของแม่ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี จำนวนเพิ่มขึ้นจาก 112,509 คน หรือร้อยละ 49.7 ต่อหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน ในปี 2549 เป็นจำนวน 119,828 หรือร้อยละ 51.1 ต่อหญิงอายุ 15-19 ปีพันคนในปี 2555 การแก้ไขปัญหาเรื่องท้องในวัยรุ่นเป็นประเด็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม ตั้งแต่การรณรงค์โดยมุ่งไปที่ตัววัยรุ่นเองให้ตระหนักถึงปัญหาและให้ความสำคัญของการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์โดยปลอดภัยและรับผิดชอบ รวมถึงการเรียนการสอนในการเพิ่มทักษะชีวิตและเพศศึกษาแบบรอบด้าน เพื่อให้วัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสาร การรู้จักปฏิเสธ ประเด็นเรื่องท้องในวัยรุ่นได้รับความสนใจจากคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ 2002 ศพในปี 2553 ทำให้สังคมให้ความตื่นตัวต่อกรณีนี้อย่างมาก และเป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันของสังคมในวงกว้าง จนนำไปสู่การเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายทำแท้ง อย่างไรก็ตามทางภาครัฐเห็นว่า ยังไม่มีความจำเป็นที่จะแก้กฎหมาย ทั้งนี้เพราะกฎหมายอาญาเปิดโอกาสให้ทำแท้ได้อยู่แล้วใน 2 กรณี คือถ้าปล่อยให้อายุครรภ์มากขึ้นจะเป็นอันตรายต่อแม่ที่ตั้งครรภ์ และกรณีถูกข่มขืน รัฐเล็งเห็นว่าทางออกที่ดีที่สุดของปัญหานี้ก็คือทุกหน่วยงานต้องร่วมมือกันและมาตรการที่ดีที่สุด คือมาตรการป้องกัน เพราะการทำแท้งเป็น การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ที่ดีที่สุดคือการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน จริง ๆ แล้ว เด็กนักเรียนควรได้เรียนเพศศึกษาอย่างต่อเนื่องไม่ต่ำกว่า 16 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้อง แต่ในทางปฏิบัติสามารถทำได้จริงเพียงภาคเรียนละ 3-7 ชั่วโมงเท่านั้น เพศศึกษายังไม่มีการบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั้งหมดและครบถ้วนตามจำนวนชั่วโมงต่อปีการศึกษา ดังนั้น จำเป็นต้องทำให้ครูและผู้บริหารเห็นความสำคัญว่าการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา 16 ชั่วโมง/ปีการศึกษานั้นได้ประโยชน์ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการติดเชื้อ HIV เป็นปัญหาที่พบบ่อยในสังคมไทยปัจจุบัน เนื่องจากพฤติกรรมการเลียนแบบต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม มาเป็นค่านิยมในสังคมวัยรุ่น โดยการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร หรือมีความสัมพันธ์แบบชายรักชาย ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ตามมา เช่นปัญหาการตั้งครรภ์ในระหว่างเรียน การทำแท้ง การทะเลาะวิวาท ตลอดจนคิดสั้นทำร้ายตนเอง เป็นต้น ดังนั้น วัยรุ่นเป็นวัยที่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ขาดความนับถือตนเอง รวมถึงขาดทักษะชีวิต ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ในด้านต่าง ๆ เช่น ขับรถประมาท ยกพวกตีกัน ดื่มสุรา และใช้สารเสพติด มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ระวัง ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ทั้งนี้ พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าว เป็นสาเหตุการตายของวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ได้แก่ การทำแท้ง การคลอด การติดเชื้อ HIV ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ กิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จึงมุ่งเน้นที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง บทบาททางเพศที่แตกต่าง กันระหว่างหญิงชาย เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้อย่างสมดุลสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ เช่น พัฒนาการทางเพศตามวัย การรักษาสัมพันธ์ภาพกับเพื่อเพศเดียวกันและต่างเพศ การตัดสินใจและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับเรื่องเพศ จากตัวอย่างปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการกำหนดแนวทางส่งเสริมสุขภาพแก่วัยรุ่นและเยาวชนให้เกิดสุขภาวะที่ปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในสังคม ป้องกันและลดปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น นำไปสู่ประโยชน์สูงสุดแก่วัยรุ่นและเยาวชนของชาติที่จะเติบโตเป็นอนาคตของประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น
- เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
- เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- จัดกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้อยกว่า 20 ปี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
- เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ
- วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
- วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้อยกว่า 20 ปี
วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุม ชี้แจง กลวิธีการดำเนินงานตามโครงการ กับคณะทำงานให้ทราบ
2. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับสาธิตและสอน
- กำหนดผู้เข้ารับการอบรมได้รับการฉีดวัคซีนและสำรวจและตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงผู้เข้ารับการอบรม (ตรวจATK) ก่อนรับการอบรมในกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง
- ให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย จำนวน 60 คน
- ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูล
- สรุปรายงานผลเป็นรายบุคคลให้ผู้รับบริการทราบ
- นำผลการอบรม เพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ ร้อยละ 100
- วัยรุ่นมีความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ ร้อยละ100
- วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น ร้อยละ 100
- วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้ ร้อยละ 100
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 (จากแบบประเมินตนเองก่อน – หลัง อบรม)
100.00
100.00
2
เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ร้อยละ 100
100.00
100.00
3
เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : จากตัวชี้วัดการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ น้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 10
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น (2) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (3) เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) จัดกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้อยกว่า 20 ปี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 - L4138 – 02 - 09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรุสนานี มามุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางรุสนานี มามุ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 - L4138 – 02 - 09 เลขที่ข้อตกลง 018/66
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66 - L4138 – 02 - 09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก โดยพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของแม่ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี จำนวนเพิ่มขึ้นจาก 112,509 คน หรือร้อยละ 49.7 ต่อหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน ในปี 2549 เป็นจำนวน 119,828 หรือร้อยละ 51.1 ต่อหญิงอายุ 15-19 ปีพันคนในปี 2555 การแก้ไขปัญหาเรื่องท้องในวัยรุ่นเป็นประเด็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม ตั้งแต่การรณรงค์โดยมุ่งไปที่ตัววัยรุ่นเองให้ตระหนักถึงปัญหาและให้ความสำคัญของการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์โดยปลอดภัยและรับผิดชอบ รวมถึงการเรียนการสอนในการเพิ่มทักษะชีวิตและเพศศึกษาแบบรอบด้าน เพื่อให้วัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสาร การรู้จักปฏิเสธ ประเด็นเรื่องท้องในวัยรุ่นได้รับความสนใจจากคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ 2002 ศพในปี 2553 ทำให้สังคมให้ความตื่นตัวต่อกรณีนี้อย่างมาก และเป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันของสังคมในวงกว้าง จนนำไปสู่การเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายทำแท้ง อย่างไรก็ตามทางภาครัฐเห็นว่า ยังไม่มีความจำเป็นที่จะแก้กฎหมาย ทั้งนี้เพราะกฎหมายอาญาเปิดโอกาสให้ทำแท้ได้อยู่แล้วใน 2 กรณี คือถ้าปล่อยให้อายุครรภ์มากขึ้นจะเป็นอันตรายต่อแม่ที่ตั้งครรภ์ และกรณีถูกข่มขืน รัฐเล็งเห็นว่าทางออกที่ดีที่สุดของปัญหานี้ก็คือทุกหน่วยงานต้องร่วมมือกันและมาตรการที่ดีที่สุด คือมาตรการป้องกัน เพราะการทำแท้งเป็น การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ที่ดีที่สุดคือการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน จริง ๆ แล้ว เด็กนักเรียนควรได้เรียนเพศศึกษาอย่างต่อเนื่องไม่ต่ำกว่า 16 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้อง แต่ในทางปฏิบัติสามารถทำได้จริงเพียงภาคเรียนละ 3-7 ชั่วโมงเท่านั้น เพศศึกษายังไม่มีการบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั้งหมดและครบถ้วนตามจำนวนชั่วโมงต่อปีการศึกษา ดังนั้น จำเป็นต้องทำให้ครูและผู้บริหารเห็นความสำคัญว่าการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา 16 ชั่วโมง/ปีการศึกษานั้นได้ประโยชน์ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการติดเชื้อ HIV เป็นปัญหาที่พบบ่อยในสังคมไทยปัจจุบัน เนื่องจากพฤติกรรมการเลียนแบบต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม มาเป็นค่านิยมในสังคมวัยรุ่น โดยการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร หรือมีความสัมพันธ์แบบชายรักชาย ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ตามมา เช่นปัญหาการตั้งครรภ์ในระหว่างเรียน การทำแท้ง การทะเลาะวิวาท ตลอดจนคิดสั้นทำร้ายตนเอง เป็นต้น ดังนั้น วัยรุ่นเป็นวัยที่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ขาดความนับถือตนเอง รวมถึงขาดทักษะชีวิต ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ในด้านต่าง ๆ เช่น ขับรถประมาท ยกพวกตีกัน ดื่มสุรา และใช้สารเสพติด มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ระวัง ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ทั้งนี้ พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าว เป็นสาเหตุการตายของวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ได้แก่ การทำแท้ง การคลอด การติดเชื้อ HIV ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ กิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จึงมุ่งเน้นที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง บทบาททางเพศที่แตกต่าง กันระหว่างหญิงชาย เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้อย่างสมดุลสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ เช่น พัฒนาการทางเพศตามวัย การรักษาสัมพันธ์ภาพกับเพื่อเพศเดียวกันและต่างเพศ การตัดสินใจและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับเรื่องเพศ จากตัวอย่างปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการกำหนดแนวทางส่งเสริมสุขภาพแก่วัยรุ่นและเยาวชนให้เกิดสุขภาวะที่ปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในสังคม ป้องกันและลดปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น นำไปสู่ประโยชน์สูงสุดแก่วัยรุ่นและเยาวชนของชาติที่จะเติบโตเป็นอนาคตของประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น
- เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
- เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- จัดกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้อยกว่า 20 ปี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
- เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ
- วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
- วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้อยกว่า 20 ปี |
||
วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น ตัวชี้วัด : วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 (จากแบบประเมินตนเองก่อน – หลัง อบรม) |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10 ตัวชี้วัด : จากตัวชี้วัดการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ น้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 10 |
10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น (2) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (3) เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) จัดกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้อยกว่า 20 ปี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 - L4138 – 02 - 09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรุสนานี มามุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......