กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการเสริมสร้างพลังกาย - พลังใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประพันธ์ สังข์ติ้น

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพลังกาย - พลังใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-2006 เลขที่ข้อตกลง 005/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างพลังกาย - พลังใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลังกาย - พลังใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลังกาย - พลังใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-2006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,944.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงปี 2563 - ปัจจุบัน ที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 อย่างต่อเนื่องและยาวนาน ในประเทศไทยจำนวนผู้ติดเชื้อและจำนวนผู้ใช้ชีวิตต่อวันเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งในกลุ่มของผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ และมีโรคประจำตัวที่ได้รับเชื้อ ดังนั้นการดูแลจากญาติหรือผู้ดูแลอย่างใกล้ชิดอย่างถูกวิธีจะช่วยลดผลกระทบและความเสี่ยงที่จะเกิดกับผู้สูงอายุในครอบครัว ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้อีกด้วย จากผลการวิจัยอัตราการติดเชื้อและความรุนแรงของโรค โควิด-19 ทั้งจากองการอนามัยโลก ประเทศจีนและอิตาลี พบข้อมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกันคือ ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่สุดที่จะติดเชื้อรุนแรงและเสียชีวิต โดยความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปและมีโรคร่วม เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง มีอัตราการเสียชีวิต 7.6-13.2% ผู้ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไปมีอัตราการเสียชีวิต 8.0-9.6% และอายุ 80 ปีขึ้นไปมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึง 14.8-19.0%
    นอกจากปัญหาด้านสุขภาพกายแล้ว งานวิจัยของต่างประเทศยังพบว่าเชื้อไวรัส โควิด-19 มีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเป็นอย่างมากด้วย ไม่ว่าผู้สูงอายุรายนั้นจะเป็นพูดติดเชื้อหรือไม่ก็ตาม เนื่องจากกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มคนที่มีความเปาะบางทางด้านร่างกาย คือมีโรคร่วมมาก ภูมิคุ้มกันต่ำ เสี่ยงติดเชื้อง่าย และด้านจิตใจ ที่มีความเครียดวิตกกังวลง่าย โดยงานวิจัยพบว่าส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้ารุนแรง เครียดและวิตกกังวล ดังนั้นการปฎิบัติตัวเพื่อลดความเครียดและความวิตกกังวลในผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญมาก เพราะความเครียดเป็นสิ่งปกติที่เกิดขึ้นได้จากความกลัวในเหตุการณ์ที่ไม่สามารถคาดเดาได้ ติดต่อกับครอบครัวและกลุ่มเพื่อนอย่างสม่ำเสมอเพื่อพูดคุยปรึกษาบุคคลที่ใกล้ชิดและไว้ใจได้ เมื่อเริ่มรู้สึกว่าตนเองมีความเศร้าหรือความวิตกกังวลเกิดขึ้น ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอย่างเป็นปกติร่วมกับปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการติดเชื้อต่างๆ ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต. บ้านลำใน จึงได้ให้ความสำคัญในการดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เช่น การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต ส่งเสริมการออกกำลังกาย ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ลูกหลาน ส่งเสริมการปฎิบัติธรรม จัดกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ ถือว่าการจัดกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้สูงอายุได้มีความสุขและได้มีกิจกรรมดีๆ จี๊ดจัดทำร่วมกันอย่างต่อเนื่องเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
  2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุให้เข้มแข็งและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. กิจกรรมทำบุญไปวัดในวันพระ
  3. อบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  4. ครั้งที่ 1 ณ วัดเขาครามสันติธรรม
  5. ครั้งที่ 2 ณ วัดปุณณาวาส (ลำใน)
  6. ครั้งที่ 3 ณ ถ้ำพุทธโคดม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง ทางด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
  2. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงและรู้ตัวว่าตัวเองมีคุณค่า
  3. ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งและมีกิจกรรมทำร่วมกันอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ครั้งที่ 1 ณ วัดเขาครามสันติธรรม

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำบุญไปวัดในวันพระ จำนวน 3 ครั้ง เดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคม 2566   ครั้งที่ 1 วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 ณ วัดเขาครามสันติธรรม   ครั้งที่ 2 วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ วัดปุณณาวาส (ลำใน)   ครั้งที่ 3 วันที่ 17 มิถุนายน 2566 ณ  ถ้ำพุทธโคดม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุเข้าร่วมไปวัดทำบุญ จำนวน 60 คน

ผลลัพธ์
1. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

60 0

2. ครั้งที่ 2 ณ วัดปุณณาวาส (ลำใน)

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำบุญไปวัดในวันพระ จำนวน 3 ครั้ง เดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคม 2566   ครั้งที่ 1 วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 ณ วัดเขาครามสันติธรรม   ครั้งที่ 2 วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ วัดปุณณาวาส (ลำใน)   ครั้งที่ 3 วันที่ 17 มิถุนายน 2566 ณ  ถ้ำพุทธโคดม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุเข้าร่วมไปวัดทำบุญ จำนวน 60 คน

ผลลัพธ์
1. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

60 0

3. ครั้งที่ 3 ณ ถ้ำพุทธโคดม

วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำบุญไปวัดในวันพระ จำนวน 3 ครั้ง เดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคม 2566 ครั้งที่ 1 วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 ณ วัดเขาครามสันติธรรม ครั้งที่ 2 วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ วัดปุณณาวาส (ลำใน) ครั้งที่ 3 วันที่ 17 มิถุนายน 2566 ณ ถ้ำพุทธโคดม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุเข้าร่วมไปวัดทำบุญ จำนวน 60 คน

ผลลัพธ์
1. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

60 0

4. อบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้สูงอายุ และได้เจ้าหน้าที่/นักศึกษาจาก วสส.ตรัง มาร่วมกิจกรรมโดยบูรณาการร่วมกัน มาให้ความรู้เพิ่มเติมเรื่องการจัดการโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุด้วยปิงปองจราจร 7 สี การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและการดูแลสุขภาช่องปากเพิ่มเติม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1. ผู้สูงอายุเข้ารับการอบรม จำนวน  70  คน

ผลลัพธ์
1. ผู้สูงอายุ รู้และเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจมากขึ้น

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุให้เข้มแข็งและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า (3) เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุให้เข้มแข็งและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมทำบุญไปวัดในวันพระ (3) อบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (4) ครั้งที่ 1 ณ วัดเขาครามสันติธรรม (5) ครั้งที่ 2 ณ วัดปุณณาวาส (ลำใน) (6) ครั้งที่ 3 ณ ถ้ำพุทธโคดม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างพลังกาย - พลังใจผู้สูงอายุ ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-2006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประพันธ์ สังข์ติ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด